- ชื่อทางการ : เนการา บรูไน ดารุสซาลาม (Negara Brunei Darussalam แปลว่า ดินแดนแห่งความสงบสุข)
- ที่ตั้ง : ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะบอร์เนียว (ละติจูดที่ 5 เหนือเส้นศูนย์สูตร) แบ่งเป็นสี่เขต คือ เขต Brunei-Muara เขต Belait เขต Temburong และเขต Tutong
- บทความ : ความ SMEs | ความแฟรนไชส์ | ความสร้างอาชีพ
|
เนการา บรูไน ดารุสซาลาม (Negara Brunei Darussalam)
ข้อมูลทั่วไป (ข้อมูล ปี 2010)
เมืองหลวง: กรุงบันดาร์เสวีเบกาวัน
พื้นที่: 5,765ตารางกิโลเมตร
จำนวนประชากร: 422,000 คน
ภาษา: มาเลเซีย
GDP: 12 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ
GDP per capita: 28,340 เหรียญสหรัฐ
GDP Growth: ร้อยละ 0.5
|
ความหมายของธงชาติ
"บรูไนดารุสซาลาม" (แปลว่า นครแห่งสันติสุข) ลักษณะของธงชาตินั้นเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีเหลือง ภายในมีแถบสีขาวและสีดำวางพาดตามแนวทแยงมุม จากมุมบนด้านคันธงไปยังมุมล่างด้านปลายธง โดยสีขาวอยู่บน สีดำอยู่ล่าง กลางธงนั้นมีภาพตราแผ่นดินของบรูไน
- พื้นธงสีเหลือง หมายถึงกษัตริย์ (ธงประจำพระองค์ของสุลต่านแห่งบรูไน ใช้ธงพื้นสีเหลือง)
- สีขาวและสีดำ หมายถึงมุขมนตรีของประเทศบรูไน
การค้าระหว่างไทย – บรูไน (2010)
- มูลค่าการค้าระหว่างประเทศ (ม.ค. – ธ.ค.) : 227 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยไทยได้เปรียบดุลการค้า 30 ล้านเหรียญสหรัฐ
- สินค้าส่งออกหลักของไทยไปบรูไน ได้แก่ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ข้าว น้ำตาลทราย ผลิตภัณฑ์ยาง ปูนซีเมนต์ เครื่องประดับ หม้อแปลงไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์เซรามิก อัญมณีและเครื่องประดับ และอาหารสัตว์เลี้ยง
- สินค้านำเข้าหลักจากบรูไน ได้แก่ น้ำมันดิบ (ร้อยละ 83) และเคมีภัณฑ์ ลวด และสายเคเบิล เหล็ก เหล็กกล้า และผลิตภัณฑ์
- ตลาดส่งออกที่สำคัญของบรูไน (2009) ได้แก่ ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย
- ตลาดนำเข้าที่สำคัญของบรูไน (2009) ได้แก่ สิงคโปร์ มาเลเซีย ญี่ปุ่น จีน ไทย
โอกาส
- มีกำลังการซื้อสูง และมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ เนื่องจากการเติบโตของภาคที่มิใช่น้ำมัน โดยเฉพาะภาคการค้าปลีก และการค้าส่ง การก่อสร้าง และการขนส่งคมนาคมจะเป็นตัวส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจ ซึ่งรัฐบาลได้มีการผลักดันให้มีโครงการต่าง ๆ เกิดขึ้น
- สินค้าที่สำคัญที่บรูไนมีความต้องการสูงเพื่อใช้ในการบริโภคและอุตสาหกรรมคือเกลือ เนื่องจากยังไม่มีการผลิตในประเทศ
- บรูไนพยายามใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการสร้างความหลากหลายทางเศรษฐกิจ
อุปสรรค
- ขั้นตอนและกระบวนการสั่งซื้อและขนส่งสินค้าของบรูไนมีความลำบาก โดยเฉพาะบริษัทขนาดใหญ่ที่มีชาวสิงคโปร์ร่วมลงทุน การนำเข้ามักจะขึ้นอยู่กับนักธุรกิจสิงคโปร์ ซึ่งขนส่ง/ขนถ่ายสินค้าที่สิงคโปร์ก่อนทำให้เสียเวลาและค่าใช้จ่ายสูง
- มีข้อบังคับในการนำเข้าสินค้าประเภทอาหารเคร่งครัดมาก ต้องเป็นอาหารฮาลาลเท่านั้น โดยเฉพาะเนื้อสัตว์ ซึ่งกรรมวิธีการผลิต การเก็บรักษา ฯลฯ ต้องผ่านการตรวจสอบและได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่รับผิดชอบของ บรูไนก่อน จึงจะสามารถส่งสินค้าไปจำหน่ายได้ ทำให้เกิดความล่าช้าและไม่คล่องตัวในการส่งออกสินค้าอาหารไปยังบรูไน
ข้อควรรู้
- ประชาชนของประเทศในกลุ่มอาเซียนสามารถทำวีซ่าที่ ตม.ที่ประเทศบรูไนฯ มีระยะเวลาอยู่ในบรูไนฯได้ 2 สัปดาห์
- ควรหลีกเลี่ยงเสื้อผ้าสีเหลืองเพราะถือเป็นสีของพระมหากษัตริย์
- การทักทายจะจับมือกันเบาๆ และสตรีจะไม่ยื่นมือให้บุรุษจับ
- การใช้นิ้วชี้ไปที่คนหรือสิ่งของถือว่าไม่สุภาพ แต่จะใช้หัวแม่มือชี้แทน
- จะไม่ใช้มือซ้ายในการส่งของให้ผู้อื่น
- สตรีเวลานั่งจะไม่ให้เท้าชี้ไปทางผู้ชายและไม่ส่งเสียงหรือหัวเราะดัง
ทักทาย
อาหาร
นับเลข
ช้อปปิ้ง
สกุลเงิน
เดินทาง
ทั่วไป
| คำศัพท์ |
สวัสดี |
ซาลามัด ดาตัง |
ขอบคุณ |
เตริมา กะชิ |
สบายดีไหม |
อาปา กาบา |
ยินดีที่ได้รู้จัก |
เจมบิรา ดาปัด เบอเตมู อันดา |
|
(gembira dapat bertemu anda) |
พบกันใหม่ |
เบอจัมปา ลากิ (berjumpa lagi) |
ลาก่อน |
เซลามัต ติงกัล |
นอนหลับฝันดี |
มิมปิ๊ มานิส |
|
(mimpi manis) |
เชิญ |
เม็นเจ็มพุด (menjemput) |
ใช่ |
ยา (ya) |
ไม่ใช่ |
ทีแด๊ก (tidak) |
อากาศดีจัง |
บาอิค คอค่า (baik cauca) |
อากาศร้อนมาก |
ซังกัด พานัส |
อากาศหนาวมาก |
คอค่า ยัง ซังกัด เซจุ๊ค |
|
(cauca yang sangat sejuk) |
ไม่เป็นไร |
ทีแด๊ก อปาอาปา (tidak apa-apa) |
|
|
|
*หมายเหตุ : มาเลเซีย และ บรูไน ใช้ภาษาเดียวกัน |
| คำศัพท์ |
น้ำ |
แอร์ (air) |
น้ำชา |
เท (teh) |
น้ำแข็ง |
อาอิส (ais) |
กาแฟ |
โคปิ (kopi) |
กาแฟเย็น |
โคปิ เซจุ๊ค (kopi sejuk) |
กาแฟร้อน |
โคปิ พานาส (kopi panas) |
นม |
ซูซู (susu) |
ครีม |
กริม (krim) |
น้ำผลไม้ |
จูส (jus) |
เนื้อหมู |
ดาจิง บาบิ (daging babi) |
ไก่ |
อายัม (ayam) |
ปลา |
อิคาน (ikan) |
เนื้อวัว |
ดาจิง (daging) |
ผัก |
ซาโย ซายูรัน (sayur-sayuran) |
ผลไม้ |
บูอา บัวฮัน (buah-buahan) |
อร่อย |
ลาซัท (lazat) |
ไม่อร่อย |
ทีแด๊ค เซดั๊บ (tidak sedap) |
เผ็ด |
พีดาส (pedas) |
หวาน |
มานิส (manis) |
เปรี้ยว |
มาซัม (masam) |
เค็ม |
มาซิน (masin) |
ก๋วยเตี๋ยว |
มิ (mi) |
น้ำแกง |
ซุป (sup) |
ของหวาน |
เพ็นคูซี่ (pencuci) |
ขนม |
มานิส (manis) |
ไอศครีม |
อาอิส กริม (ais krim) |
|
|
|
*หมายเหตุ : มาเลเซีย และ บรูไน ใช้ภาษาเดียวกัน |
| คำศัพท์ |
หนึ่ง |
ซาตู (satu) |
สอง |
ดัว (dua) |
สาม |
ทิก้า (tiga) |
สี่ |
เอ็มแพท (empat) |
ห้า |
ลิม่า (lima) |
หก |
อีนาม (enam) |
เจ็ด |
ทูจู (tujuh) |
แปด |
ลาพัน (lapan) |
เก้า |
เซ็มบิลัน (sembilan) |
สิบ |
เซปูลู (sepuluh) |
วัน |
ฮาริ (hari) |
สัปดาห์ |
มิงกุ (minggu) |
เดือน |
บูลาน (bulan) |
ปี |
ทาฮุน (tahun) |
กี่โมงแล้ว |
อาปาคา มาซ่า (apakah masa) |
ชั่วโมง |
แจม (jam) |
|
|
เวลาช่วงเช้า (AM) |
|
ตี 1 |
ปุกูล ซาตู ปากิ (pukul satu pagi) |
ตี 2 |
ปุกูล ดัว ปากิ (pukul dua pagi) |
ตี 3 |
ปุกูล ทิก้า ปากิ (pukul tiga pagi) |
ตี 4 |
ปุกูล เอ็มแพท ปากิ (pukul empat pagi) |
ตี 5 |
ปุกูล ลิม่า ปากิ (pukul lima pagi) |
6 โมง |
ปูกูล อีนาม ปากิ (pukul enam pagi) |
7 โมง |
ปุกูล ทุจู ปากิ (pukul tujuh pagi) |
8 โมง |
ปูกูล ลาปัน ปากิ (pukul lapan pagi) |
9 โมง |
ปุกูล เซ็มบิลัน ปากิ (pukul sembilan pagi) |
10 โมง |
ปุกูล เซปูลู ปากิ (pukul sepuluh pagi) |
11 โมง |
ปุกูล เซเบลัส ปากิ (pukul sebelas pagi) |
12.00 น. เที่ยง |
เทนกาฮาริ (tengahari) |
|
|
เวลาช่วงบ่าย (PM) |
|
13.00 น. |
ปุกูล ซาตู ปิตัง (pukul satu petang) |
14.00 น. |
ปูกูล ดัว ปิตัง (pukul dua petang) |
15.00 น. |
ปุกูล ทิก้า ปิตัง (pukul tiga petang) |
16.00 น. |
ปุกูล เอ็มแพท ปิตัง (pukul empat petang) |
17.00 น. |
ปุกูล ลิม่า ปิตัง (pukul lima petang) |
18.00 น. |
ปุกูล อินาม ปิตัง (pukul enam petang) |
|
|
เวลาช่วงค่ำ (PM) |
|
19.00 น. |
ปุกูล ทุจู มาลาม (pukul tujuh malam) |
20.00 น. |
ปุกูล ลาปัน มาลาม (pukul lapan malam) |
21.00 น. |
ปุกูล เซ็มบิลัน มาลาม (pukul sembilan malam) |
22.00 น. |
ปุกูล เซปูลู มาลาม (pukul sepuluh malam) |
23.00 น. |
ปุกูล เซเบลัส มาลาม (pukul sebelas malam) |
24.00 น. |
เทนกา มาลาม (tengah malam) |
|
|
|
*หมายเหตุ : มาเลเซีย และ บรูไน ใช้ภาษาเดียวกัน |
| คำศัพท์ |
ราคาเท่าไร |
เบราปา บันยัค (berapa banyak) |
ลดราคาได้ไม่ |
จัวลัน ซายา (jualan saya) |
เงินทอน |
เปรูบาฮาน อิตู (perubahan itu) |
เงินสด |
ตูไน (tunai) |
บัตรเครติด |
ก๊าด เครดิต (kad kredit) |
ราคาแพง |
มาฮาล (mahal) |
ราคาถูก |
มูร่า (murah) |
ซื้อ |
เม็มบิลิ (membeli) |
ไม่ซื้อ |
ทีแด๊ค เม็มบิลิ (tidak membeli) |
เสื้อผ้า |
คาอิน (kain) |
รองเท้า |
คาสุด (kasut) |
เครื่องสำอางค์ |
คอสเมติก (kosmetik) |
ยา |
เปรูบาทาน (perubatan) |
เครื่องใช้ไฟฟ้า |
เปอคาคัส (perkakas) |
กระเป๋า |
เบ็ค (beg) |
กระเป๋าสตางค์ |
ดอมเปต (dompet) |
หนังสือเดินทาง |
พาสปอร์ต (passport) |
|
|
|
*หมายเหตุ : มาเลเซีย และ บรูไน ใช้ภาษาเดียวกัน |
| คำศัพท์ |
ห้องน้ำ |
แทนดัส (tandas) |
โทรศัพท์ |
เทเลโฟน (telefon) |
โทรศัพท์สาธารณะ |
เทเลโฟน อะวัม (telefon awam) |
บัตรเติมเงิน |
เทเลโฟน ก๊าด (telefon kad) |
โทรศัพท์มือถือ |
เทเลโฟน บิมบิท (telefon bimbit) |
ตู้ ATM |
เอทีเอ็ม (ATM) |
ผ้าเย็น |
ตัวล่า เซจุ๊ค (taula sejuk) |
รองเท้าแตะ |
เซลีปา (selipar) |
ผ้าเช็ดตัว |
ตัวล่า (tuala) |
ผ้าเช็ดหน้า |
ซาปู ทันกัน (sapu tangan) |
กล้องถ่ายรูป |
คาเมร่า (kamera) |
กล้องวีดีโอ |
แคมคอเด้อร์ (camcorder) |
|
|
|
*หมายเหตุ : มาเลเซีย และ บรูไน ใช้ภาษาเดียวกัน |
|
|
สกุลเงิน |
ดอลลาร์บรูไน |
|
อักษรย่อ :BND |
|
|
ชนิดของเงิน |
|
เหรียญ |
1,5, 10, 20, 50 เซนต์, 1 ดอลลาร์ |
|
|
ธนบัตรที่ใช้บ่อย |
1, 5, 10, 50, 100 ดอลลาร์ |
|
|
ธนบัตรที่ใช้ไม่บ่อย |
20, 25, 500, 1,000, 10,000 ดอลลาร์ |
| คำศัพท์ |
โรงแรม |
โฮเทล (hotel) |
โรงภาพยนต์ |
พาวากัม (pawagam) |
โรงละคร |
ทีเต้อร์ (teater) |
โรงพยาบาล |
ฮอสปิตอล (hospital) |
พิพิธภัณฑ์ |
มิวเซียม (muzium) |
สถานีตำรวจ |
บาไล โปลิส (balai poliz) |
ภัตตาคาร |
เรสโตรัน (restoran) |
ถนน |
จาลัน (jalan) |
ร้านค้า |
เมมบิลิ เบลา (membeli-belah) |
ห้างสรรพสินค้า |
ดีพาร์ทเม้นท์สโตร์ (department store) |
ร้ายขายยา |
เคได ยูบัต (kedai ubat) |
สวนสาธารณาะ |
ทามาน อะวัม (taman awam) |
สนามกีฬา |
สุกัน สเตเดี้ยม (sukan stadium) |
สนามบิน |
ลาปากัน เทอบัง (lapagan terbang) |
สถานีขนส่งสายเหนือ |
เทอมินอล บัส อูทาร่า (terminal bus utara) |
สถานีขนส่งสายใต้ |
เทอมินอล บัส เซลาตัน (terminal bus selatan) |
สถานีขนส่งสายตะวันออก |
เทอมินอล บัส ติเมอ (terminal bus timur) |
ธนาคาร |
แบงค์ (bank) |
รถแท็กซี่ |
เท้กซี่ (teksi) |
รถเมล์ |
บัส อะวัม (bus awam) |
รถไฟฟ้า |
เอ็มอาร์ที เม้ทโทร เรล ทรานสิท |
|
(MRT: Metro Rail Transit) |
รถไฟฟ้าใต้ดิน |
เอ็มอาร์ที (MRT) |
เรือ |
เฟอรี่ (feri) |
รถท้วร์ |
เพอคูม่า (percuma) |
เครื่องบิน |
กาปัล เทอบัง (kapal terbang) |
สายการบิน |
ซยาริการ์ด ปีเนอบันกัน (syarikat penerbangan) |
รถสามล้อ |
ทริสสิกัล (trisikal) |
|
|
|
*หมายเหตุ : มาเลเซีย และ บรูไน ใช้ภาษาเดียวกัน |
|
|
- ชื่อทางการ : ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia)
- ที่ตั้ง : กัมพูชาตั้งอยู่กลางภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทิศเหนือติดกับประเทศไทย (จังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ สุรินทร์ และบุรีรัมย์) และลาว ทิศตะวันออกติด เวียดนาม ทิศตะวันตกติดประเทศไทย และทิศใต้ติดอ่าวไทย
- บทความ : ความ SMEs | ความแฟรนไชส์ | ความค้าขาย
|
ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia)
ข้อมูลทั่วไป (ข้อมูล ปี 2010)
เมืองหลวง :กรุงพนมเปญ
พื้นที่ : 181,035 ตารางกิโลเมตร
จำนวนประชากร : 15 ล้านคน
ภาษา : เขมร
GDP : 11.5 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ
GDP per capital : 805 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
GDP Growth : ร้อยละ 4.8
|
ความหมายของธงชาติ
มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ผืนธงแบ่งตามแนวยาวเป็น 3 ริ้ว โดยริ้วกลางนั้นเป็นพื้นสีแดง กว้าง 2 ส่วน มีรูปปราสาทหินนครวัดสามยอดสีขาวอยู่ตรงกลาง ริ้วที่อยู่ด้านนอกทั้งสองด้านนั้นกว้างริ้วละ 1 ส่วน
- พื้นสีน้ำเงิน ความหมายของสัญลักษณ์ในธงนั้นสะท้อนถึง 3 สถาบันหลักของประเทศ ดังปรากฏในคำขวัญประจำชาติว่า "ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์" (เขมร: )
- พื้นสีแดงมีความหมายถึงชาติ ปราสาทนครวัดสีขาวหมายถึงสันติภาพและศาสนา ซึ่งเดิมมีรากเหง้าจากศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และได้เปลี่ยนแปลงมาเป็นพระพุทธศาสนาในปัจจุบัน
- สีน้ำเงินนั้นหมายถึงสถาบันพระมหากษัตริย์
การค้าระหว่างไทย – กัมพูชา (2010)
- มูลค่าการค้าระหว่างประเทศ (ม.ค. – ต.ค.) : 2,133.29 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยไทยได้เปรียบดุลการค้า 1789.28 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
- สินค้าส่งออกหลักของไทยไปกัมพูชา ได้แก่ น้ำมันสำเร็จรูป น้ำตาลทราย ปูนซีเมนต์ เครื่องดื่ม เคมีภัณฑ์
- สินค้านำเข้าหลักจากกัมพูชา ได้แก่ เรือ และสิ่งปลูกสร้างลอยน้ำ พืช และผลิตภัณฑ์จากพืช เหล็ก เหล็กกล้า และผลิตภัณฑ์ สินแร่ โลหะอื่น ๆ เศษโลหะ และผลิตภัณฑ์ผักผลไม้ ของปรุงจากผักผลไม้
- ตลาดส่งออกที่สำคัญของกัมพูชา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ยุโรป ญี่ปุ่น ฮ่องกง แคนาดา สิงคโปร์
- ตลาดนำเข้าที่สำคัญของกัมพูชา ได้แก่ ไทย จีน เวียดนาม
โอกาส
- มีระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรีและเปิดกว้างเมื่อเทียบกับประเทศที่มีระดับพัฒนาใกล้เคียงกัน
- รัฐบาลมีเสถียรภาพ ทำให้นักลงทุนมั่นใจเรื่องการกำหนดนโยบายที่ชัดเจน
- เป็นแหล่งแร่ธาตุ และทรัพยากรธรรมชาติ เหมาะเป็นฐานการผลิตสินค้าเกษตร และเป็นแหล่งผลิตพลังงานทดแทน
- เป็นสมาชิกของอาเซียนและองค์การกาการค้าโลก ทำให้มีการปฏิรูปกฎหมายและระเบียบให้สอดคล้อง มีความเป็นสากลมากขึ้น
- ประชาชนนิยมสินค้าไทย
- แรงงานจำนวนมากและมีราคาถูก
อุปสรรค
- ความขัดแย้งทางการเมืองกับไทย ทำให้นักธุรกิจไทยไม่มั่นใจที่จะทำการค้าหรือลงทุนในกัมพูชา
- ขาดบุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจในการทำธุรกิจระหว่างประเทศ
- ขาดระบบการจัดเก็บข้อมูล สถิติ และการวิเคราะห์ศึกษาวิจัย ข้อมูล ตลาด สินค้า
- การคอร์รัปชั่นสูง และการปฏิบัติตามข้อตกลงระหว่างประเทศไม่มีประสิทธิภาพ
- การปฏิรูปกฎหมาย และกฎระเบียบล่าช้า กฎระเบียบทางการค้ามีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงบ่อย
- การส่งออก – นำเข้า ใช้การเจรจาและดุลพินิจ หรือ Connectionเป็นสำคัญ ทำให้เกิดความแตกต่างเรื่องต้นทุนธุรกิจ
- ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังอยู่ระหว่างการพัฒนา
- ระบบการเงิน การธนาคาร และกระบวนการยุติธรรมไม่มีความน่าเชื่อถือ ไม่มีประสิทธิภาพ
- ขาดแคลนแรงงานทักษะและเชี่ยวชาญ
ข้อควรรู้
- เมื่อเดินทางถึงท่าอากาศยานกรุงพนมเปญ โดยกรอกแบบฟอร์ม Visa on Arrival พร้อมยื่นรูปถ่ายและค่าธรรมเนียม 20 ดอลลาร์สหรัฐ
- ผู้ที่เดินทางเข้ากัมพูชา และประสงค์จะอยู่ทำธุรกิจเป็นระยะเวลาเกิน 3 เดือน ควรฉีดยาป้องกันโรคไทฟอยด์ และไวรัสเอและบี
Link ที่น่าสนใจ
ทักทาย
อาหาร
นับเลข
ช้อปปิ้ง
สกุลเงิน
เดินทาง
ทั่วไป
|
คำศัพท์ |
คำอ่าน |
สวัสดี |
จุม-เรียป ซัว |
จุม-เรียบ-ซัว |
ขอบคุณ |
ออ-กุน |
ออ-กุน |
สบายดีไหม |
ซก ซ๊อป-บาย เจีย เต |
ซก-ซ๊อบ-บาย-เจีย-เต |
ยินดีที่ได้รู้จัก |
เตรก ออ แดล บาน |
เตรก-ออ-แดว-บาน |
พบกันใหม่ |
ขจุ๊บคะเนียใหม่ |
ขะ-จุ๊บ-คะ-เนีย-ไหม่ |
ลาก่อน |
โซว์ม เลีย เฮย |
โซ-มะ-เลีย-เฮย |
นอนหลับฝันดี |
เกล็วสุบันลอ |
เกล็ว-สุ-บัน-ลอ |
เชิญ |
อ็อญ-เจิญ |
อ็อน-เจิน |
ใช่ |
แมน |
แมน |
ไม่ใช่ |
มึน แมน |
มึน-แมน |
อากาศดีจัง |
อะกะสะเทียดละออ |
อะ-กะ-สะ-เทียด-ละ-ออ |
อากาศร้อนมาก |
อะกะสะเทียดละเดา |
อะ-กะ-สะ-เทียด-ละ-เดา |
อากาศหนาวมาก |
อะกะสะเทียดตระเจี๋ย |
อะ-กะ-สะ-เทียด-ตระ-เจี๋ย |
ไม่เป็นไร |
มึน เอ็ย เต |
มึน-เอย-เต |
ขอโทษ |
โสมโต่ะ , อดโต่ะ |
โสม-โต่ะ , อด-โต่ะ |
|
คำศัพท์ |
คำอ่าน |
อาหารเช้า |
อา-ฮา ปรึก |
อา-ฮา-ปรึก |
อาหารกลางวัน |
อา-ฮา เปล ทงัย |
อา-ฮา-เปน-ทะ-ไง |
อาหารเย็น |
อา-ฮา ลเงียจ |
อา-ฮา-สะ-เงียด |
อาหารค่ำ |
อา-ฮา ยุป |
อา-ฮา-ยุบ |
ข้าว |
บาย |
บาย |
น้ำ |
ตึก |
ตึก |
น้าชา |
ตึก แต |
ตึก-แต |
น้ำแข็ง |
ตึก กอก์ |
ตึก-กอ |
กาแฟ |
กา-เฟย์ |
กา-เฟ |
กาแฟเย็น |
กา-เฟย์ ตร็อ เจียะ |
กา-เฟ-ตรอ-เจียะ |
กาแฟร้อน |
กา-เฟย์ กเดา |
กา-เฟ-กะ-เดา |
นม |
เดาะฮ |
เดาะ-ฮะ |
ครีม |
กแรม |
กะ-แรม |
น้ำผลไม้ |
ตึก พแล เชอ |
ตึก-พะ-แล-เชอ |
เนื้อหมู |
ซัจ จรูก |
ซัด-จะ-รูก |
ไก่ |
ม็วน |
ม็วน |
ปลา |
เตรย |
เตรย |
เนื้อวัว |
ซัจ โก |
ซัด-โก |
ผัก |
บ็อน-แล |
บ็อน-แล |
ผลไม้ |
พแล เชอ |
พะ-แล-เชอ |
อร่อย |
ชงัญ แมน แตน |
ชะ-งัน-แมน-แตน |
ไม่อร่อย |
มึน ชงัญ แมน แตน |
มึน-ชะ-งัน-แมน-แตน |
เผ็ด |
เฮิล |
เฮิน |
หวาน |
พแอม |
พะ-แอม |
เปรี้ยว |
จู |
จู |
เค็ม |
ปรัย |
ไปร |
ก๋วยเตี๋ยว |
กุยเตียว |
กุย-เตียว |
น้ำแกง |
ตึก ซลอ |
ตึก-ซะ-ลอ |
ของหวาน |
บ็อง-แอม |
บ็อง-แอม |
ขนม |
นุม |
นุม |
ไอศครีม |
กา-เรย์ม |
กา-เร-มะ |
|
คำศัพท์ |
คำอ่าน |
หนึ่ง |
มวย |
มวย |
สอง |
ปี |
ปี |
สาม |
เบ็ย |
เบ็ย |
สี่ |
บวน |
บวน |
ห้า |
ปรัม |
ปะ-รำ |
หก |
ปรัม มวย |
ปะ-รัม-มวย |
เจ็ด |
ปรัม ปี |
ปะ-รำ-ปี |
แปด |
ปรัม เบ็ย |
ปะ-รำ-เบ็ย |
เก้า |
ปรัม บวน |
ปะ-รำ-บวน |
สิบ |
ด็อป |
ด๊อบ |
วัน |
ทงัย |
ทะ-ไง |
สัปดาห์ |
ซัป-ดา |
ซับ-ดา |
เดือน |
แค |
แค |
ปี |
ชนัม |
ชะ-นำ |
กี่โมงแล้ว |
โมง ปน-มาน เฮย |
โมง-ปน-มาน-เฮย |
ชั่วโมง |
โมง |
โมง |
นาที |
เนีย-ตี |
เนีย-ตี |
|
|
|
เวลาช่วงเช้า (AM) |
ปรึก |
ปรึก |
ตี 1 |
โมง มวย |
โมง-มวย |
ตี 2 |
โมง ปี |
โมง-ปี |
ตี 3 |
โมง เบ็ย |
โมง-เบ็ย |
ตี 4 |
โมง บวน |
โมง-บวน |
ตี 5 |
โมง ปรัม |
โมง-ปะ-รำ |
6 โมง |
โมง ปรัม มวย |
โมง-ปะ-รำ-มวย |
7 โมง |
โมง ปรัม ปี |
โมง-ปะ-รำ-ปี |
8 โมง |
โมง ปรัม เบ็ย |
โมง-ปะ-รำ-เบ็ย |
9 โมง |
โมง ปรัม บวน |
โมง-ปะ-รำ-บวน |
10 โมง |
โมง ด็อป |
โมง-ด็อบ |
11 โมง |
โมง ด็อป มวย |
โมง-ด็อบ-มวย |
12.00 น. เที่ยง |
โมง ด็อป ปี |
โมง-ด็อบ-ปี |
|
|
|
เวลาช่วงบ่าย (PM) |
โร-เซียล |
โร-เซียน |
13.00 น. |
โมง ด็อป เบ็ย |
โมง-ด็อบ-เบ็ย |
14.00 น. |
โมง ด็อป บวน |
โมง-ด็อบ-บวน |
15.00 น. |
โมง ด็อป ปรัม |
โมง-ด็อบ-ปะ-รำ |
16.00 น |
โมง ด็อป ปรัม มวย |
โมง-ด็อบ-ปะ-รำ-มวย |
17.00 น |
โมง ด็อป ปรัม ปี |
โมง-ด็อบ-ปะ-รำ-ปี |
18.00 น. |
โมง ด็อป ปรัม เบ็ย |
โมง-ด็อบ-ปะ-รำ-เบ็ย |
19.00 น. |
โมง ด็อป ปรัม บวน |
โมง-ด็อบ-ปะ-รำ-บวน |
20.00 น. |
โมง มพึย |
โมง-มะ-พึย |
21.00 น. |
โมง มพึย มวย |
โมง-มะ-พึย-มวย |
22.00 น. |
โมง มพึย ปี |
โมง-มะ-พึย-ปี |
23.00 น. |
โมง มพึย เบ็ย |
โมง-มะ-พึย-เบ็ย |
24.00 น. |
โมง มพึย บวน |
โมง-มะ-พึย-บวน |
|
คำศัพท์ |
คำอ่าน |
ราคาเท่าไร |
ทลัย ปน-มาน |
ทะ-ไล-ปน-มาน |
ลดราคาได้ไหม |
เจาะฮฺ ไทล บาน เต |
เจาะ-ไท-บาน-เต |
เงินทอน |
ลุยอบ |
ลุย-ยอบ |
เงินสด |
ประ |
ปะ |
บัตรเครติด |
- |
- |
ราคาแพง |
นัมไรไท |
นำ-ไร-ไท |
ราคาถูก |
นัมไรเมา |
นำ-ไร-เมา |
ซื้อ |
ตึญ |
ตึน |
ไม่ซื้อ |
มึน ตึญ |
มึน-ตึน |
เสื้อผ้า |
อาว |
อาว |
รองเท้า |
สะแบงเจิง |
สะ-แบง-เจิง |
เครื่องสำอางค์ |
- |
- |
ยา |
ทนัม |
ทะ-นำ |
เครื่องใช้ไฟฟ้า |
เครื่องอะกิดสะนี |
เครื่อง-อะ-กิด-สะ-นี |
กระเป๋า |
กา-โบว์ป |
กา-โบบ |
กระเป๋าสตางค์ |
กะโบกจุย |
กะ-โบก-จุย |
หนังสือเดินทาง |
เสียวเผ่าเวอดำนาว |
เสียว-เผ่า-เวอ-ตำ-นาว |
แว่นตา |
แวนตา |
แวน-ตา |
นาฬิกาข้อมือ |
เนียลิกากอได |
เนีย-ลิ-กา-กอ-ได |
หมวก |
หมวก |
หมวก |
กางเกง |
โคร์ |
โค |
น้ำหอม |
ตึกกรอโอบ |
ตึก-กรอ-โอบ |
|
คำศัพท์ |
คำอ่าน |
ห้องน้ำ |
ต๊บตึ๊ก |
ต๊บ-ตึ๊ก |
โทรศัพท์ |
ตู-เร็อ-ซัป |
ตู-เรอะ-ซับ |
โทรศัพท์สาธารณะ |
ตูเรือซัปสาธารณะ |
ตู-เรือ-ซับ-สา-ทา-ระ-นะ |
บัตรเติมเงิน |
การ์ดบันโจประ |
กาด-บัน-โจ-ปะ |
โทรศัพท์มือถือ |
ตูเรือซัปได |
ตู-เรือ-ซับ-ได |
ตู้ ATM |
|
|
ผ้าเย็น |
เกราะนัดตระเจี๊ย |
เกาะ-นัด-ตะ-เจี๊ย |
รองเท้าแตะ |
ซแบก เจิง พต็วต |
ซะ-แบก-เจิง-พะ-ต๊วด |
ผ้าเช็ดตัว |
ก็อน-แซง งูต ตึก |
ก็อน-แซง-งูด-ตึก |
ผ้าเช็ดหน้า |
ก็อน-แซง ดัย |
ก็อน-แซง-ได |
กล้องถ่ายรูป |
มา-ซีน ทอต รูป |
มา-ซีน-ทอด-รูบ |
กล้องวีดีโอ |
มา-ซีน-ทอต วี-เดย์-โอว์ |
มา-ซีน-ทอด-วี-เด-โอ |
วิทยุ |
วิทยุ |
วิทยุ |
แปรงสีฟัน |
จร๊ะโด้ะถมิญ |
จร๊ะ-โด้ะ-ทะ-มิน |
นาฬิกาปลุก |
เนียลิกาโร |
เนีย-ลิ-กา-โร |
แก้ว |
จอก |
จอก |
หมอน |
ขเนย |
ขเนย |
กระดาษชำระ |
เกราะด๊ะอะนะมัย |
เกราะ-ด๊ะ-อะ-นะ-มัย |
|
คำศัพท์ |
คำอ่าน |
สกุลเงิน |
เรียล |
เรียว |
|
|
|
ชนิดของเงิน |
|
|
เหรียญ |
|
|
1 บาท |
มวยบาท |
มวย-บาด |
2 บาท |
ปีบาท |
ปี-บาด |
10 บาท |
ด็อบบาท |
ด็อบ-บาด |
|
|
|
ธนบัตร |
|
|
20 บาท |
มะพึยบาท |
มะ-พึย-บาด |
50 บาท |
ห้าเซิบบาท |
ห้า-เซิบ-บาด |
100 บาท |
มะโรยบาท |
มะ-โรย-บาด |
500 บาท |
ปรำโรยบาท |
ปะ-รำ-โรย-บาด |
1000 บาท |
มะปวนบาท |
มะ-ปวน-บาด |
|
คำศัพท์ |
คำอ่าน |
โรงแรม |
ซ็อน-ทา-เกีย |
ซ็อน-ทา-เกีย |
โรงภาพยนต์ |
โรง กน |
โรง-กน |
โรงละคร |
โวงกน |
โวง-กน |
โรงพยาบาล |
ม็วน-ตี-แปต |
ม็วน-ตี-แปด |
พิพิธภัณฑ์ |
ซา-เร็อ-ม็วน-ตี |
ซา-เร็อ-ม็วน-ตี |
สถานีตำรวจ |
โปลิก |
โป-ลิก |
ภัตตาคาร |
โพ-เจอะ-นี-เยอะ-ทาน |
โพ-เจอะ-นี-เยอะ-ทาน |
ถนน |
เพลิว |
เพ-ลิว |
ร้านค้า |
ตเริง |
ตะ-เริง |
ห้างสรรพสินค้า |
ห้างวั่วโด |
ห้าง-วั่ว-โต |
ร้านขายยา |
โอ-ซ็อต-เท็อ-ทาน |
โอ-ซ็อต-เท็อ-ทาน |
สวนสาธารณาะ |
สวนสาเทียระเนะ |
สวน-สา-เทีย-ระ-เนะ |
สนามกีฬา |
สะตะติลา |
สะ-ตะ-ติ-ลา |
สนามบิน |
หล่อเลียนยนเหาะ |
หล่อ-เลียน-ยน-เหาะ |
สถานีขนส่งสายเหนือ |
สถาเนียรถเหียฮสาน กินพุดเจียกรอง |
สะ-ถา-เนีย-รด-เหีย-หะ-สาน กิน-พุด-เจีย-กรอง |
สถานีขนส่งสายใต้ |
สถาเนียรถเหีย |
สะ-ถา-เนีย-รด-เหีย |
สถานีขนส่งสายตะวันออก |
สถาเนียรถดัดกินจุ่น |
สะ-ถา-เนีย-รด-ดัด-กิน-จุ่น |
ธนาคาร |
เทอะ-เนีย-เกีย |
เทอะ-เนีย-เกีย |
รถแท็กซี่ |
ตะ-ซี |
ตะ-ซี |
รถเมล์ |
ร็วต ย็วน ปร็อ -จัม พเลิว |
ร็วด-ย็วน-ปร็อ-จัม-พะ-เลิว |
รถไฟฟ้า |
รถอะกิดสะนี |
รด-อะ-กิด-สะ-นี |
รถไฟฟ้าใต้ดิน |
ร็วต พเลิง คนง เด็ย |
ร็วด-พะ-เลิง-คะ-นง-เด็ย |
เรือ |
ตูก |
ตูก |
รถท้วร์ |
ลานกรง |
ลาน-กรง |
เครื่องบิน |
ย็วน เฮาะฮ |
ย็วน-เฮาะ |
สายการบิน |
เลียนยนเหาะ |
เลียน-ยน-เหาะ |
รถสามล้อ |
ลาน ซี-โกลว์ |
ลาน-ซี-โกน |
บ้าน |
ผะเตี้ยะ |
ผะ-เตี้ยะ |
โรงเรียน |
สาลาเรียน , โรงเรียน |
สา-ลา-เรียน , โรง-เรียน |
ตลาด |
ผสา |
ผะ-สา |
ถนน |
ถนล |
ถะ-หนน |
รถยนต์ |
ลาน |
ลาน |
|
|
- ชื่อทางการ : สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)
- ที่ตั้ง : อยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยตั้งอยู่บนเส้นทางเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรอินเดีย และเป็นสะพานเชื่อมระหว่างทวีปเอเชียกับออสเตรเลีย ทำให้อินโดนีเซียสามารถควบคุมเส้นทางการติดต่อระหว่างมหาสมุทรทั้งสอง
- บทความ : ความ SMEs | ความแฟรนไชส์
|
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)
ข้อมูลทั่วไป (ข้อมูล ปี 2010)
เมืองหลวง: กรุงจาการ์ตา
พื้นที่: 1,919,440 ตารางกิโลเมตร
จำนวนประชากร: 234.6 ล้านคน
ภาษา: Bahasa อินโดนีเซีย
GDP: 695.1 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ
GDP per capita: 2,963 เหรียญสหรัฐฯ
GDP Growth: ร้อยละ 6
|
ความหมายของธงชาติ
รู้จักกันทั่วไปในชื่อ "ซังเมราห์ปูติห์" ("Sang Merah Putih", สีแดง-ขาว) เป็นธงที่มีต้นแบบมาจากธงประจำอาณาจักรมัชปาหิตในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นธงแบ่งเป็นสองส่วนตามแนวนอน
- สีแดง หมายถึงความกล้าหาญและอิสรภาพ
- สีขาว หมายถึงความบริสุทธิ์ยุติธรรม
การค้าระหว่างไทย – อินโดนีเซีย (2010)
- มูลค่าการค้าระหว่างประเทศ: 13,022.36 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ไทยได้เปรียบดุลการค้า 1,670.78 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
- สินค้าส่งออกหลักของประเทศไทยไปอินโดนีเซีย ได้แก่ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ น้ำตาลทราย เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของเครื่องเคมีภัณฑ์ และเม็ดพลาสติก
- สินค้านำเข้าจากอินโดนีเซีย ได้แก่ สินแร่โลหะอื่น ๆ เศษโลหะและผลิตภัณฑ์ ถ่านหิน น้ำมันดิบ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบเคมีภัณฑ์
- ตลาดส่งออกที่สำคัญของอินโดนีเซีย (2009) ได้แก่ ญี่ปุ่น สิงคโปร์ สหรัฐฯ จีน
- ตลาดนำเข้าที่สำคัญของอินโดนีเซีย (2009) ได้แก่ ญี่ปุ่น สิงคโปร์ จีน มาเลเซีย
โอกาส
- มีนโยบายส่งเสริมการลงทุนโดยเฉพาะการลงทุนในต่างประทศ และมีการปรับปรุงบรรยากาศให้เอื้อต่อการลงทุน
- เป็นตลาดขนาดใหญ่ จึงมีปริมาณความต้องการสินค้าและบริการมาก
- มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ และสามารถนำมาใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหรรมต่อเนื่องต่าง ๆ
- มีตลาดแรงงานขนาดใหญ่ ค่าจ้างแรงงานต่ำ เมื่อเทียบกับประเทศอื่นในอาเซียน
- ผู้บริโภคมีทัศนคติที่ดีต่อสินค้าไทย โดยเฉพาะสินค้าประเภทอาหาร
- ภาวะทางการเมืองและสังคมมีเสถียรภาพ และมั่นคงมาก ทำให้นักลงทุนเกิดความเชื่อมั่นและเข้ามาลงทุนมากขึ้น
- ปรับโครงสร้างของภาคราชการให้มีความคล่องตัวมากขึ้น รวมทั้งนโยบายปราบรามคอร์รัปชั่น
อุปสรรค
- มีกฎระเบียบที่มีลักษณะเป็นมาตรการกีดกันทางการค้า (NBTs)ได้แก่ มาตรการห้ามนำเข้า (เช่น สินค้าข้าว) การขออนุญาตนำเข้า การขออนุญาตขึ้นทะเบียน อย. และมาตรการด้านสุขอนามัย ซึ่งมีความยุ่งยากในทางปฏิบัติและใช้เวลานาน
- ยังมีการคอร์รัปชั่นในระบบราชการ ซึ่งยังมีอยู่ในหลบายขั้นตอน ถือเป็นต้นทุนในการประกอบธุรกิจในอินโดนีเซียสูง
- มีกฎระเบียบบางอย่างที่เป็นอุปสรรคต่อการลงทุนประกอบธุรกิจ เช่น การขออนุญาตประกอบธุรกิจ ซึ่งมีขั้นตอนยุ่งยากซับซ้อนและใช้ระยะเวลานาน
- ระบบโครงสร้างพื้นฐานการลงทุน เช่น ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานที่ไม่เพียงพอในบางพื้นที่หรือมีคุณภาพไม่ดีพอ
ข้อควรรู้
- ไม่ควรใช้มือซ้ายในการรับ-ส่งของ หรือรับประทานอาหารคนมุสลิมอินโดนีเซียถือว่ามือซ้ายไม่สุภาพ
- ไม่จับศีรษะคนอินโดนีเซียรวมทั้งการลูบศีรษะเด็ก
- การครอบครองยาเสพติด อาวุธ หนังสือรูปภาพอนาจาร มีบทลงโทษหนัก อาทิ การนำเข้าและครอบครองยาเสพติดมีโทษถึงประหารชีวิต
- บทลงโทษรุนแรงเกี่ยวกับการค้าและส่งออกพืชและสัตว์กว่า 200 ชนิด จึงควรตรวจสอบก่อนซื้อหรือนำพืชและสัตว์ออกนอกประเทศ
ทักทาย
อาหาร
นับเลข
ช้อปปิ้ง
สกุลเงิน
เดินทาง
ทั่วไป
| คำศัพท์ |
สวัสดี |
เซลามัทปากิ (ตอนเช้า) |
|
เซลามัทซิแอง (ตอนเที่ยง) |
|
เซลามัทซอร์ (ตอนเย็น) |
|
เซลามัทมายัม (ตอนค่ำ) |
ขอบคุณ |
เทริมากาสิ |
สบายดีไหม |
อพาร์ คาบาร์ |
ยินดีที่ได้รู้จัก |
เซลามัน เบอร์จัมพา เดนกัน อันดา |
พบกันใหม่ |
ซัมไพ จำพา ลากิ |
ลาก่อน |
บาย บาย |
นอนหลับฝันดี |
มิมพิ ยัง อินดา |
เชิญ |
สิลาคาน |
ใช่ |
ยา, เบอร์ทูล |
ไม่ใช่ |
บูคัน |
อากาศร้อนมาก |
ดินกิน เซกาลิ |
อากาศหนาวมาก |
พานัส เซกาลิ |
ไม่เป็นไร |
ทิดัก อพา อพา |
| คำศัพท์ |
อาหารเช้า |
มาคันปากิ |
อาหารกลางวัน |
มาคัน สิอัง |
อาหารเย็น |
มาคัน มาลัม |
อาหารค่ำ |
มาคัน มาลัม |
ข้าว |
นาสิ |
น้ำ |
แอร์ มินัม |
น้าชา |
เทะ |
น้ำแข็ง |
เอส บาทู |
กาแฟ |
โคปิ |
กาแฟเย็น |
เอส โคปิ |
กาแฟร้อน |
เพดัส โคปิ |
นม |
ซู ซู |
ครีม |
คริม |
น้ำผลไม้ |
ซาริ บูอะ |
เนื้อหมู |
บาบิ |
ไก่ |
อะยัม |
ปลา |
ไอกาน |
เนื้อวัว |
ซาปี |
ผัก |
ซายัวมายัว |
ผลไม้ |
บัวห |
อร่อย |
เซแดป |
ไม่อร่อย |
|
เผ็ด |
พานาส |
หวาน |
มานีส |
เปรี้ยว |
อัสม่า |
เค็ม |
กาแรม |
ก๋วยเตี๋ยว |
มิ |
น้ำแกง |
ซอป,ซัป |
ของหวาน |
คือ |
ขนม |
มาคานาน เคเซิล |
ไอศครีม |
เอสกริม |
| คำศัพท์ |
หนึ่ง |
ซาตู |
สอง |
ดัว |
สาม |
ทิกา |
สี่ |
เอ็มแพด |
ห้า |
ลิม่า |
หก |
อินาม |
เจ็ด |
ทูจู |
แปด |
ดีลาแพน |
เก้า |
แซมบิแลน |
สิบ |
ซีพูลู |
วัน |
ฮาริ |
สัปดาห์ |
มินกู |
เดือน |
บูลาน |
ปี |
ทาฮูน |
กี่โมงแล้ว |
แจม แบลาพา เซการัง |
ชั่วโมง |
แจม |
นาที |
เมนิด |
|
|
เวลาช่วงเช้า (AM) |
|
ตี 1 |
แจม ซาทู |
ตี 2 |
แจม ดัว |
ตี 3 |
แจม ทิกา |
ตี 4 |
แจม เอมพัด |
ตี 5 |
แจม ลิมา |
6 โมง |
แจม เอมพัด |
7 โมง |
แจม ทูจัว |
8 โมง |
แจม ดีลาแพน |
9 โมง |
แจม แซมลิแลน |
10 โมง |
แจม ซีพูลูช |
11 โมง |
แจม ซีบาเลส |
12.00 น. เที่ยง |
เทนเก็ช ฮาลิ (แจม ดัว บีเล็ท) |
|
|
เวลาช่วงบ่าย (PM) |
|
13.00 น. |
แจม ทิกา บีเล็ท |
14.00 น. |
แจม เอมทัต บีเล็ท |
15.00 น. |
แจม ลิมา บีเล็ท |
16.00 น |
แจม อีนัม บีเล็ท |
17.00 น |
แจม ทูจัว บีเล็ท |
18.00 น. |
แจม ดีลาแพน บีเล็ท |
19.00 น. |
แจม แซมลิแลน บีเล็ท |
20.00 น. |
แจม ดัว พูลูช |
21.00 น. |
แจม ดัว พูลูช ซาทู |
22.00 น. |
แจม ดัว พูลูช ดัว |
23.00 น. |
จามา ดัว พูลูช ทิกา |
24.00 น. |
เทนกัช มาลัม |
| คำศัพท์ |
ราคาเท่าไร |
บีราพา อินนิ |
ลดราคาได้ไม่ |
บิซา คูรัง ซีดิคิส |
เงินทอน |
อัค ทูคาร์ |
เงินสด |
ทูคาร์ |
บัตรเครติด |
คาร์ทู คาร์ดิส |
ราคาแพง |
มาเฮอ |
ราคาถูก |
มูรา |
ซื้อ |
เม็มเบลิ |
ไม่ซื้อ |
|
เสื้อผ้า |
พะเคียน |
รองเท้า |
เสพิตุ |
เครื่องสำอางค์ |
คอสเมติค |
ยา |
พิล,เท็บเลท |
เครื่องใช้ไฟฟ้า |
ลิสทริค |
กระเป๋า |
แทส |
กระเป๋าสตางค์ |
ดอมแพ็ท |
หนังสือเดินทาง |
พาสพอร์ |
| คำศัพท์ |
ห้องน้ำ |
คามาร์ เคซิล |
โทรศัพท์ |
เทเลพอน |
โทรศัพท์สาธารณะ |
เทเลพอน |
บัตรเติมเงิน |
- |
โทรศัพท์มือถือ |
เอชพี |
ตู้ ATM |
เอทีเอ็ม |
ผ้าเย็น |
- |
รองเท้าแตะ |
แซนดอล |
ผ้าเช้ดตัว |
แฮนดัค |
ผ้าเช็ดหน้า |
แฮนดัค เคซิล |
กล้องถ่ายรูป |
คาเมร่า |
กล้องวีดีโอ |
คาเมร่า วิดีโอ |
|
|
สกุลเงิน |
รูเปียห์ |
|
|
ชนิดของเงิน |
|
เหรียญ |
|
1 บาท |
ซาตุ บาท |
2 บาท |
ดัวบาท |
10 บาท |
ซิพุละ บาท |
|
|
20 บาท |
ดัว พุละ บาท |
50 บาท |
ลิมะ พุละ บาท |
100 บาท |
ซิละตัส บาท |
500 บาท |
ลิมะ ละตัส บาท |
1000 บาท |
ซิลิบุ บาท |
| คำศัพท์ |
โรงแรม |
โฮเทล |
โรงภาพยนต์ |
ฟิเลม ทีเทอ |
โรงละคร |
ทีเทอ |
โรงพยาบาล |
รูมา สากิต |
พิพิธภัณฑ์ |
มูเซียม |
สถานีตำรวจ |
แคนโท โพลิสิ |
ภัตตาคาร |
รูมา มาคาร เรสโตแรน |
ถนน |
จาลาน |
ร้านค้า |
โตโก |
ห้างสรรพสินค้า |
โตเซอบา |
ร้ายขายยา |
อาโพติก |
สวนสาธารณาะ |
พับบลิค ทามาน |
สนามกีฬา |
พูสาด เคบูการัน |
สนามบิน |
บานดารา |
สถานีขนส่งสายเหนือ |
เทอมินอล บิส ยูทารา |
สถานีขนส่งสายใต้ |
เทอมินอล บิส เซลาตาน |
สถานีขนส่งสายตะวันออก |
เทอมินอล บิส ติเมอ |
ธนาคาร |
แบงค์ |
รถแท็กซี่ |
ทาสซี่ |
รถเมล์ |
บิส |
รถไฟฟ้า |
เคราตา อาปิ |
รถไฟฟ้าใต้ดิน |
- |
เรือ |
คาปาล |
รถท้วร์ |
บิส |
เครื่องบิน |
เปสาวัด |
สายการบิน |
- |
รถสามล้อ |
เบคาค |
|
|
- ชื่อทางการ : สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (The Lao People's Democratic Republic)
- ที่ตั้ง : เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีพรมแดนติดจีนและพม่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับเวียดนามทางทิศตะวันออก ติดต่อกับกัมพูชาทางทิศใต้ และติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก
- บทความ : ความ SMEs | ความแฟรนไชส์ | ความค้าขาย
|
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (The Lao People's Democratic Republic)
ข้อมูลทั่วไป (ข้อมูล ปี 2010)
เมืองหลวง : นครหลวงเวียงจันทน์
พื้นที่ : 263,800 ตารางกิโลเมตร
จำนวนประชากร : 5,873,616 ล้านคน
ภาษา : ลาว
GDP : 6.3 พันล้านเหรียญสหรัฐ
GDP per capita : 964 เหรียญสหรัฐฯ
GDP Growth : ร้อยละ 7.2
|
ความหมายของธงชาติ
ธงนี้มีชื่อเรียกในภาษาลาวว่า ธงดวงเดือน ได้รับการออกแบบขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดย มหาสิลา วีระวงส์ นักปราชญ์ผู้ยิ่งใหญ่ของชาวลาว
- สีแดง หมายถึง เลือดแห่งการต่อสู้เพื่ออิสรภาพของชาวลาว
- สีน้ำเงิน หมายถึง ความมั่งคั่งอุดมสมบูรณ์ของชาติ
- พระจันทร์สีขาว เป็นสัญลักษณ์ของดวงจันทร์ลอยเด่นเหนือลำน้ำโขง และหมายถึงเอกภาพของชาติภายใต้การปกครองของรัฐบาลพรรคประชาชนปฏิวัติลาว (พรรคคอมมิวนิสต์ลาว) หรือหมายถึงการกลับมารวมกันอีกครั้งของชาวลาวสองฝั่งโขง
การค้าระหว่างไทย – ลาว (2010)
- มูลค่าการค้าระหว่างประเทศ (ม.ค. – ต.ค.) : 2,325.71 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยไทยได้เปรียบดุลการค้า 1,113.31 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
- สินค้าส่งออกหลักของไทยไปลาว ได้แก่ น้ำมันสำเร็จรูป รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของเครื่องเหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ เคมีภัณฑ์
- สินค้านำเข้าหลักจากลาว ได้แก่ สินแร่โลหะอื่น ๆ เศษโลหะและผลิตภัณฑ์ เชื้อเพลิงอื่น ๆ ไม้ซุง ไม้แปรรูป และผลิตภัณฑ์ พืช และผละผลิตภัณฑ์จากพืช เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของเครื่อง
- ตลาดส่งออกที่สำคัญของลาว ได้แก่ ไทย เวียดนาม ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น เยอรมนี
- ตลาดนำเข้าที่สำคัญของลาว ได้แก่ ไทย จีน เวียดนาม สิงคโปร์ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย
โอกาส
- ลาวได้รับสิทธิพิเศษทางการค้า (MFN)และสถานะ NormalTradeRelation(NTR)จากสหรัฐฯ ส่งผลให้การส่งอกสินค้าของลาวไปสหรัฐมีภาษีลดลง รวมถึงสิทธิพิเศษด้านภาษีศุลกากร (GSP)จากสหรัฐ และยุโรป
- อุดมสมบูรณ์ด้านชีวภาพ พลังงานไฟฟ้า และทรัพยากร เหมาะแก่การเป็นฐานการผลิตแก่ประเทศอื่น ๆ
- เป็นแหล่งแรงงานราคาถูก และประชากรมีความรู้ด้านภาษาที่หลากหลายกว่าประเทศอื่น เนื่องจากประเทศต่าง ๆ ให้ทุนการศึกษาแก่ลาวจำนวนมาก
- มีความต้องการนำเข้าอุปกรณ์ด้านการก่อสร้างจากไทยสูง เนื่องจากลาวมีโครงการก่อสร้างเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำและสาธารณูปโภคพื้นฐานอย่างกว้างขวาง
- เป็นดินแดนเชื่อมต่อของอินโดจีน (Land Bridge)
อุปสรรค
- ตลาดมีขนาดเล็ก (ประชากรน้อย) และมีกำลังซื้อต่ำ
- โครงสร้างพื้นฐานยังไม่ได้รับการพัฒนาและไม่มีการนำทรัพยากรที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
- แรงงานส่วนใหญ่เป็นแรงงานไร้ฝีมือ
- ขาดระบบฐานข้อมูลที่ใช้ในการวางแผน และขาดระบบการจัดการที่ดี
- ข้อกฎหมายต่าง ๆ เป็นกฎหมายเชิงคุ้มครองมากกว่าเชิงส่งเสริม และขาดประสิทธิภาพในการบังคับใช้กฎหมาย ทำให้ไม่คล่องตัวต่อการลงทุน
- เงินกีบขาดเสถียรภาพ ทำให้ยากต่อการวางแผนด้านการตลาดและการลงทุน
- พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่ราบสูง ไม่มีทางออกทางทะเล (Land Lock)ทำให้การคมนาคมขนส่งไม่สะดวก
ข้อควรรู้
- ลาว มีตัวอักษรคล้ายของไทย ทำให้คนไทยอ่านหนังสือลาวได้ไม่ยากนัก ส่วนคนลาวอ่านหนังสือไทยได้คล่องมาก
- ลาวขับรถทางขวา
Link ที่น่าสนใจ
ทักทาย
อาหาร
นับเลข
ช้อปปิ้ง
สกุลเงิน
เดินทาง
ทั่วไป
| คำศัพท์ |
สวัสดี |
สะบายดี |
ขอบคุณ |
ขอบใจ |
สบายดีไหม |
สบายดีบ่ |
ยินดีที่ได้รู้จัก |
ยินดีที่ฮู้จัก |
พบกันใหม่ |
เห็นกันใหม่ |
ลาก่อน |
ลาก่อน |
นอนหลับฝันดี |
นอนหลับฝันดี |
เชิญ |
เล่าแนเด้อ |
ใช่ |
แม่นแล้ว |
ไม่ใช่ |
บ่แม่น |
อากาศดีจัง |
อากาดสบายจัง |
อากาศร้อนมาก |
อากาดฮ้อน |
อากาศหนาวมาก |
อากาดหนาว |
ไม่เป็นไร |
บ่เป็นหยัง |
| คำศัพท์ |
น้ำ |
น้ำ |
น้ำชา |
น้ำชา |
น้ำแข็ง |
น้ำก้อน |
กาแฟ |
กะเพ |
กาแฟเย็น |
กะเพเย็น |
กาแฟร้อน |
กะเพฮ้อน |
นม |
นม |
ครีม |
ครีม |
น้ำผลไม้ |
น้ำหมากไม้ |
เนื้อหมู |
ซิ้นหมู |
ไก่ |
ซี่นไก่ |
ปลา |
ซี่นปลา |
เนื้อวัว |
ซี่นงัว |
ผัก |
ผัก |
ผลไม้ |
หมากไม้ |
อร่อย |
แซ่บ |
ไม่อร่อย |
บ่แซ่บ |
เผ็ด |
เผ็ด |
หวาน |
หวาน |
เปรี้ยว |
เปรี้ยว |
เค็ม |
เค็ม |
ก๋วยเตี๋ยว |
เฝอ |
น้ำแกง |
แกง / ต้ม |
ของหวาน |
ขนมหวาน |
ขนม |
ขนม |
ไอศครีม |
กะแลม |
| คำศัพท์ |
หนึ่ง |
หนึ่ง |
สอง |
สอง |
สาม |
สาม |
สี่ |
สี่ |
ห้า |
ห้า |
หก |
หก |
เจ็ด |
เจ็ด |
แปด |
แปด |
เก้า |
เก้า |
สิบ |
สิบ |
วัน |
วัน |
สัปดาห์ |
สัปดาห์ |
เดือน |
เดือน |
ปี |
ปี |
กี่โมงแล้ว |
จักโมงแล้ว |
ชั่วโมง |
ชั่วโมง |
นาที |
นาที |
|
|
เวลาช่วงเช้า (AM) |
|
ตี 1 |
หนึ่งโมง |
ตี 2 |
สองโมง |
ตี 3 |
สามโมง |
ตี 4 |
สี่โมง |
ตี 5 |
ห้าโมง |
6 โมง |
หกโมง |
7 โมง |
เจ็ดโมง |
8 โมง |
แปดโมง |
9 โมง |
เก้าโมง |
10 โมง |
สิบโมง |
11 โมง |
สิบเอ็ดโมง |
12.00 น. เที่ยง |
เที่ยง |
|
|
เวลาช่วงบ่าย (PM) |
|
13.00 น. |
บ่ายโมง |
14.00 น. |
บ่ายสองโมง |
15.00 น. |
บ่ายสามโมง |
16.00 น. |
บ่ายสี่โมง |
17.00 น. |
บ่ายห้าโมง |
18.00 น. |
หกโมงเย็น |
|
|
เวลาช่วงค่ำ (PM) |
|
19.00 น. |
เจ็ดโมงเย็น |
20.00 น. |
แปดโมงกลางคืน |
21.00 น. |
เก้าโมงกลางคืน |
22.00 น. |
สิบโมงกลางคืน |
23.00 น. |
สิบเอ็ดโมงกลางคืน |
24.00 น. |
สิบสองโมงกลางคืน |
| คำศัพท์ |
ราคาเท่าไร |
ราคาเท่าไหร่ |
ลดราคาได้ไหม |
ลดราคาได้บ่ |
เงินทอน |
เงินทอน |
เงินสด |
เงินสด |
บัตรเครติด |
บัตรเครดิต |
ราคาแพง |
แพงหลาย |
ราคาถูก |
ถืก |
ซื้อ |
ซื้อ |
ไม่ซื้อ |
บ่ซื้อดอก |
เสื้อผ้า |
เสื้อผ้า / ซิ่น |
รองเท้า |
เกิบ |
เครื่องสำอางค์ |
แป้งทาหน้า |
ยา |
ยา |
เครื่องใช้ไฟฟ้า |
เครื่องใช้ไฟฟ้า |
กระเป๋า |
กระเป๋า |
กระเป๋าสตางค์ |
กระเป๋าเงิน |
หนังสือเดินทาง |
พาสปอร์ต |
| คำศัพท์ |
ห้องน้ำ |
ส้วม |
โทรศัพท์ |
โทรศัพท์ |
โทรศัพท์สาธารณะ |
โทรศัพท์สาธารณะ |
บัตรเติมเงิน |
บัตรเติมเงิน |
โทรศัพท์มือถือ |
โทรศัพท์มือถือ |
ตู้ ATM |
ตู้เอทีเอ็ม |
ผ้าเย็น |
ผ้าอนามัย |
รองเท้าแตะ |
เกิบแตะ |
ผ้าเช็ดตัว |
ผ้าเช็ดตัว |
ผ้าเช็ดหน้า |
ผ้าเช็ดหน้า |
กล้องถ่ายรูป |
กล้องถ่ายฮูป |
กล้องวีดีโอ |
กล้องวิดีโอ |
|
|
สกุลเงิน |
กีบ |
|
อักษรย่อ : LAK |
|
|
ชนิดของเงิน |
|
เหรียญ |
10, 20, 50 อัด |
|
100 อัด = 1 กีบ |
|
|
ธนบัตรที่ใช้บ่อย : |
1000, 2000, 5000, 10000, 20000, 50000 กีบ |
|
|
ธนบัตรที่ไม่ค่อยใช้ : |
1, 5, 10, 20, 50, 100, 500 กีบ |
| คำศัพท์ |
โรงแรม |
โฮงแฮม |
โรงภาพยนต์ |
โฮงหนัง |
โรงละคร |
โฮงละคอน |
โรงพยาบาล |
โฮงหมอ |
พิพิธภัณฑ์ |
- |
สถานีตำรวจ |
โฮงพัก |
ภัตตาคาร |
ร้านกินดื่ม |
ถนน |
ทาง |
ร้านค้า |
ฮ้านขายเคื้อง |
ห้างสรรพสินค้า |
ห้าง |
ร้ายขายยา |
ฮ้านขายยาปัวพยาต |
สวนสาธารณาะ |
สวนสาธารณะ |
สนามกีฬา |
สนามกีฬา |
สนามบิน |
เดิ่นบิน / เดิ่นยน |
สถานีขนส่งสายเหนือ |
ขนส่งสายเหนือ |
สถานีขนส่งสายใต้ |
ขนส่งสายใต้ |
สถานีขนส่งสายตะวันออก |
ขนส่งสายตะวันออก |
ธนาคาร |
ทะนาคาน |
รถแท็กซี่ |
แท้กซี่ |
รถเมล์ |
ลดเม |
รถไฟฟ้า |
- |
รถไฟฟ้าใต้ดิน |
- |
เรือ |
เรือ |
รถท้วร์ |
รถแสนซำบาย |
เครื่องบิน |
ยน |
สายการบิน |
สายการบิน |
รถสามล้อ |
ซะกาแล้ต / จัมโบ้ |
|
|
- ชื่อทางการ : มาเลเซีย (Malaysia)
- ที่ตั้ง : ตั้งอยู่ในเขตเส้นศูนย์สูตร ประกอบด้วยดินแดนสองส่วน โดยมีทะเลจีนใต้กั้นส่วนแรก คือ มาเลเซียตะวันตก ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู มีพรมแดนทิศเหนือติดประเทศไทย และทิศใต้ติดกับสิงคโปร์ ส่วนที่สอง คือ มาเลเซียตะวันออก ตั้งอยู่ทางเหนือของเกาะบอร์เนียว มีพรมแดนทิศใต้ติดอินโดนีเซีย และมีพรมแดนล้อมรอบประเทศบรูไน
- บทความ : ความ SMEs | ความแฟรนไชส์ | ความค้าขาย
|
มาเลเซีย (Malaysia)
ข้อมูลทั่วไป (ข้อมูล ปี 2010)
เมืองหลวง: กรุงกัวลาลัมเปอร์
พื้นที่: 330,000 ตารางกิโลเมตร
จำนวนประชากร: 27.8 ล้านคน
ภาษา: มาเลย์ จีน อังกฤษ อูรดู
GDP: 213.1 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ
GDP per capita: 7,547เหรียญสหรัฐฯ
GDP Growth: ร้อยละ 4.7
|
ความหมายของธงชาติ
หรือเรียกชื่ออีกอย่างหนึ่งว่า "ยาลูร์ เกมิลัง" ("Jalur Gemilang" มีความหมายว่า ธงริ้วแห่งเกียรติศักดิ์) มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นสีแดงสลับสีขาวรวม 14 แถบ แต่ละแถบมีความกว้างเท่ากัน ที่มุมธงด้านคันธงมีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีน้ำเงินกว้าง 8 ใน 14 ส่วนของผืนธงด้านกว้าง และยาวกึ่งหนึ่งของผืนธงด้านยาว ภายในบรรจุเครื่องหมายพระจันทร์เสี้ยวและดาว 14 แฉก ที่มีชื่อว่า "บินตัง เปอร์เซกูตัน" ("Bintang Persekutuan") หรือ "ดาราสหพันธ์"
- แถบริ้วสีแดงและสีขาวทั้ง 14 ริ้วซึ่งมีความกว้างเท่ากัน หมายถึงสถานะอันเสมอภาคของรัฐสมาชิกทั้ง 13 รัฐ และรัฐบาลกลางที่กรุงกัวลาลัมเปอร์
- ดาว 14 แฉกหมายถึงความเป็นเอกภาพในหมู่รัฐดังกล่าวทั้งหมด
- พระจันทร์เสี้ยวหมายถึงศาสนาอิสลามอันเป็นศาสนาประจำชาติ
- สีเหลืองในพระจันทร์เสี้ยวและดาราสหพันธ์คือสีแห่งยังดี เปอร์ตวน อากง ผู้เป็นประมุขแห่งสหพันธรัฐ
- สีน้ำเงินนั้นหมายถึงความสามัคคีของชาวมาเลเซีย
การค้าระหว่างไทย – มาเลเซีย (2010)
- มูลค่าการค้าระหว่างประเทศ: 21,275.58 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยไทยเสียเปรียบดุลการค้า 142.21 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
- สินค้าส่งออกหลักของไทยไปมาเลเซีย ได้แก่ ยางพารา เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ รถยนต์อุปกรณ์และส่วนประกอบ น้ำมันสำเร็จรูป และแผงวงจรไฟฟ้า
- สินค้านำเข้าหลักจากมาเลเซีย ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ น้ำมันดิบ เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์ สื่อบยันทึกข้อมูล ภาพ เสียง
- ตลาดส่งออกที่สำคัญของมาเลเซีย ได้แก่สิงคโปร์ สหรัฐฯ ญี่ปุ่น ไทย (อันดับ 5)
- ตลาดนำเข้าที่สำคัญของมาเลเซีย ได้แก่ จีน สิงคโปร์ ญี่ปุ่น
โอกาส
- ร่วมลงทุนเพื่อผลิตสินค้าฮาลาลเพื่อส่งออก เนื่องจากไทยมีศักยภาพด้านวัตถุดิบและมีอุตสาหกรรมการผลิตอาหารที่แข็งแกร่งซึ่งได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางด้านคุณภาพมาตรฐาน ขณะที่มาเลเซียได้รับการยอมรับและความเชื่อถือในการเป็นศูนย์กลางด้านฮาลาลของโลก
- มีแรงงานที่มีความรู้ด้านภาษาต่างประเทศ และมีความชำนาญเป็นพิเศษในงานที่ต้องอาศัยความละเอียดปราณีต ซึ่งเหมาะสมกับความต้องการของอุตสาหรกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
- มีระบบคมนาคมขนส่ง การสื่อสาร ระบบโลจิสติกส์ที่ได้มาตรฐาน และมีการจัดการด้านโลจิสติกส์แบบคบวงจร
- มีการยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบเฉพาะส่วนที่นำเข้ามาผลิตเพื่อส่งออก
อุปสรรค
- การลงทุนในมาเลเซียต้องใช้ต้นทุนสูงกว่าประเทศอื่น ๆ มีอัตราดอกเบี้ยค่อนข้างสูง และยากต่อการหาแหล่งเงินทุน
- มาเลเซียมีการลดหย่อนภาษีสรรพสามิตให้กับผู้ประกอบการรถยนต์ภายในประเทศ ซึ่งเป็นการลดโอกาสในการแข่งขันทางทางการค้าในตลาดดังกล่าวของผู้ผลิต / ผู้ส่งออกชิ้นส่วนและอะไหล่รถยนต์ของไทย
- รัฐบาลสร้างนโยบายกีดกันภาษีการขายที่ค่อนข้างสูง สินค้าบางรายการไม่สามารถส่งออกไปยังมาเลเซียได้อย่างเต็มที่
ข้อควรรู้
- ผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามจะได้รับสิทธิพิเศษ คือ เงินอุดหนุนทางด้านการศึกษา สาธารณสุข การคลอดบุตรงานแต่งงานและงานศพ
- มาเลเซียมีปัญหาประชากรหลากหลายเชื้อชาติ ชาติพันธุ์ในมาเลเซียประกอบด้วยชาวมาเลย์ กว่าร้อยละ 40 ที่เหลืออีกกว่าร้อยละ 33 เป็นชาวจีนร้อยละ10 เป็นชาวอินเดีย และ อีกร้อยละ 10 เป็นชนพื้นเมืองบนเกาะบอร์เนียว
Link ที่น่าสนใจ
ทักทาย
อาหาร
นับเลข
ช้อปปิ้ง
สกุลเงิน
เดินทาง
ทั่วไป
| คำศัพท์ |
สวัสดี |
ซาลามัด ดาตัง |
ขอบคุณ |
เตริมา กะชิ |
สบายดีไหม |
อาปา กาบา |
ยินดีที่ได้รู้จัก |
เจมบิรา ดาปัด เบอเตมู อันดา |
|
(gembira dapat bertemu anda) |
พบกันใหม่ |
เบอจัมปา ลากิ (berjumpa lagi) |
ลาก่อน |
เซลามัต ติงกัล |
นอนหลับฝันดี |
มิมปิ๊ มานิส |
|
(mimpi manis) |
เชิญ |
เม็นเจ็มพุด (menjemput) |
ใช่ |
ยา (ya) |
ไม่ใช่ |
ทีแด๊ก (tidak) |
อากาศดีจัง |
บาอิค คอค่า (baik cauca) |
อากาศร้อนมาก |
ซังกัด พานัส |
อากาศหนาวมาก |
คอค่า ยัง ซังกัด เซจุ๊ค |
|
(cauca yang sangat sejuk) |
ไม่เป็นไร |
ทีแด๊ก อปาอาปา (tidak apa-apa) |
|
|
|
*หมายเหตุ : มาเลเซีย และ บรูไน ใช้ภาษาเดียวกัน |
| คำศัพท์ |
น้ำ |
แอร์ (air) |
น้ำชา |
เท (teh) |
น้ำแข็ง |
อาอิส (ais) |
กาแฟ |
โคปิ (kopi) |
กาแฟเย็น |
โคปิ เซจุ๊ค (kopi sejuk) |
กาแฟร้อน |
โคปิ พานาส (kopi panas) |
นม |
ซูซู (susu) |
ครีม |
กริม (krim) |
น้ำผลไม้ |
จูส (jus) |
เนื้อหมู |
ดาจิง บาบิ (daging babi) |
ไก่ |
อายัม (ayam) |
ปลา |
อิคาน (ikan) |
เนื้อวัว |
ดาจิง (daging) |
ผัก |
ซาโย ซายูรัน (sayur-sayuran) |
ผลไม้ |
บูอา บัวฮัน (buah-buahan) |
อร่อย |
ลาซัท (lazat) |
ไม่อร่อย |
ทีแด๊ค เซดั๊บ (tidak sedap) |
เผ็ด |
พีดาส (pedas) |
หวาน |
มานิส (manis) |
เปรี้ยว |
มาซัม (masam) |
เค็ม |
มาซิน (masin) |
ก๋วยเตี๋ยว |
มิ (mi) |
น้ำแกง |
ซุป (sup) |
ของหวาน |
เพ็นคูซี่ (pencuci) |
ขนม |
มานิส (manis) |
ไอศครีม |
อาอิส กริม (ais krim) |
|
|
|
*หมายเหตุ : มาเลเซีย และ บรูไน ใช้ภาษาเดียวกัน |
| คำศัพท์ |
หนึ่ง |
ซาตู (satu) |
สอง |
ดัว (dua) |
สาม |
ทิก้า (tiga) |
สี่ |
เอ็มแพท (empat) |
ห้า |
ลิม่า (lima) |
หก |
อีนาม (enam) |
เจ็ด |
ทูจู (tujuh) |
แปด |
ลาพัน (lapan) |
เก้า |
เซ็มบิลัน (sembilan) |
สิบ |
เซปูลู (sepuluh) |
วัน |
ฮาริ (hari) |
สัปดาห์ |
มิงกุ (minggu) |
เดือน |
บูลาน (bulan) |
ปี |
ทาฮุน (tahun) |
กี่โมงแล้ว |
อาปาคา มาซ่า (apakah masa) |
ชั่วโมง |
แจม (jam) |
|
|
เวลาช่วงเช้า (AM) |
|
ตี 1 |
ปุกูล ซาตู ปากิ (pukul satu pagi) |
ตี 2 |
ปุกูล ดัว ปากิ (pukul dua pagi) |
ตี 3 |
ปุกูล ทิก้า ปากิ (pukul tiga pagi) |
ตี 4 |
ปุกูล เอ็มแพท ปากิ (pukul empat pagi) |
ตี 5 |
ปุกูล ลิม่า ปากิ (pukul lima pagi) |
6 โมง |
ปูกูล อีนาม ปากิ (pukul enam pagi) |
7 โมง |
ปุกูล ทุจู ปากิ (pukul tujuh pagi) |
8 โมง |
ปูกูล ลาปัน ปากิ (pukul lapan pagi) |
9 โมง |
ปุกูล เซ็มบิลัน ปากิ (pukul sembilan pagi) |
10 โมง |
ปุกูล เซปูลู ปากิ (pukul sepuluh pagi) |
11 โมง |
ปุกูล เซเบลัส ปากิ (pukul sebelas pagi) |
12.00 น. เที่ยง |
เทนกาฮาริ (tengahari) |
|
|
เวลาช่วงบ่าย (PM) |
|
13.00 น. |
ปุกูล ซาตู ปิตัง (pukul satu petang) |
14.00 น. |
ปูกูล ดัว ปิตัง (pukul dua petang) |
15.00 น. |
ปุกูล ทิก้า ปิตัง (pukul tiga petang) |
16.00 น. |
ปุกูล เอ็มแพท ปิตัง (pukul empat petang) |
17.00 น. |
ปุกูล ลิม่า ปิตัง (pukul lima petang) |
18.00 น. |
ปุกูล อินาม ปิตัง (pukul enam petang) |
|
|
เวลาช่วงค่ำ (PM) |
|
19.00 น. |
ปุกูล ทุจู มาลาม (pukul tujuh malam) |
20.00 น. |
ปุกูล ลาปัน มาลาม (pukul lapan malam) |
21.00 น. |
ปุกูล เซ็มบิลัน มาลาม (pukul sembilan malam) |
22.00 น. |
ปุกูล เซปูลู มาลาม (pukul sepuluh malam) |
23.00 น. |
ปุกูล เซเบลัส มาลาม (pukul sebelas malam) |
24.00 น. |
เทนกา มาลาม (tengah malam) |
|
|
|
*หมายเหตุ : มาเลเซีย และ บรูไน ใช้ภาษาเดียวกัน |
| คำศัพท์ |
ราคาเท่าไร |
เบราปา บันยัค (berapa banyak) |
ลดราคาได้ไม่ |
จัวลัน ซายา (jualan saya) |
เงินทอน |
เปรูบาฮาน อิตู (perubahan itu) |
เงินสด |
ตูไน (tunai) |
บัตรเครติด |
ก๊าด เครดิต (kad kredit) |
ราคาแพง |
มาฮาล (mahal) |
ราคาถูก |
มูร่า (murah) |
ซื้อ |
เม็มบิลิ (membeli) |
ไม่ซื้อ |
ทีแด๊ค เม็มบิลิ (tidak membeli) |
เสื้อผ้า |
คาอิน (kain) |
รองเท้า |
คาสุด (kasut) |
เครื่องสำอางค์ |
คอสเมติก (kosmetik) |
ยา |
เปรูบาทาน (perubatan) |
เครื่องใช้ไฟฟ้า |
เปอคาคัส (perkakas) |
กระเป๋า |
เบ็ค (beg) |
กระเป๋าสตางค์ |
ดอมเปต (dompet) |
หนังสือเดินทาง |
พาสปอร์ต (passport) |
|
|
|
*หมายเหตุ : มาเลเซีย และ บรูไน ใช้ภาษาเดียวกัน |
| คำศัพท์ |
ห้องน้ำ |
แทนดัส (tandas) |
โทรศัพท์ |
เทเลโฟน (telefon) |
โทรศัพท์สาธารณะ |
เทเลโฟน อะวัม (telefon awam) |
บัตรเติมเงิน |
เทเลโฟน ก๊าด (telefon kad) |
โทรศัพท์มือถือ |
เทเลโฟน บิมบิท (telefon bimbit) |
ตู้ ATM |
เอทีเอ็ม (ATM) |
ผ้าเย็น |
ตัวล่า เซจุ๊ค (taula sejuk) |
รองเท้าแตะ |
เซลีปา (selipar) |
ผ้าเช็ดตัว |
ตัวล่า (tuala) |
ผ้าเช็ดหน้า |
ซาปู ทันกัน (sapu tangan) |
กล้องถ่ายรูป |
คาเมร่า (kamera) |
กล้องวีดีโอ |
แคมคอเด้อร์ (camcorder) |
|
|
|
*หมายเหตุ : มาเลเซีย และ บรูไน ใช้ภาษาเดียวกัน |
|
|
สกุลเงิน |
ริงกิต (Ringgit) |
|
อักษรย่อ : RM (Ringgit Malaysia) |
|
|
ชนิดของเงิน |
|
เหรียญ |
5, 10, 20, 50 เซ็น |
|
100 เซ็น = 1 ริงกิต |
|
|
ธนบัตร |
1, 5, 10, 50, 100 ริงกิต |
| คำศัพท์ |
โรงแรม |
โฮเทล (hotel) |
โรงภาพยนต์ |
พาวากัม (pawagam) |
โรงละคร |
ทีเต้อร์ (teater) |
โรงพยาบาล |
ฮอสปิตอล (hospital) |
พิพิธภัณฑ์ |
มิวเซียม (muzium) |
สถานีตำรวจ |
บาไล โปลิส (balai poliz) |
ภัตตาคาร |
เรสโตรัน (restoran) |
ถนน |
จาลัน (jalan) |
ร้านค้า |
เมมบิลิ เบลา (membeli-belah) |
ห้างสรรพสินค้า |
ดีพาร์ทเม้นท์สโตร์ (department store) |
ร้ายขายยา |
เคได ยูบัต (kedai ubat) |
สวนสาธารณาะ |
ทามาน อะวัม (taman awam) |
สนามกีฬา |
สุกัน สเตเดี้ยม (sukan stadium) |
สนามบิน |
ลาปากัน เทอบัง (lapagan terbang) |
สถานีขนส่งสายเหนือ |
เทอมินอล บัส อูทาร่า (terminal bus utara) |
สถานีขนส่งสายใต้ |
เทอมินอล บัส เซลาตัน (terminal bus selatan) |
สถานีขนส่งสายตะวันออก |
เทอมินอล บัส ติเมอ (terminal bus timur) |
ธนาคาร |
แบงค์ (bank) |
รถแท็กซี่ |
เท้กซี่ (teksi) |
รถเมล์ |
บัส อะวัม (bus awam) |
รถไฟฟ้า |
เอ็มอาร์ที เม้ทโทร เรล ทรานสิท |
|
(MRT: Metro Rail Transit) |
รถไฟฟ้าใต้ดิน |
เอ็มอาร์ที (MRT) |
เรือ |
เฟอรี่ (feri) |
รถท้วร์ |
เพอคูม่า (percuma) |
เครื่องบิน |
กาปัล เทอบัง (kapal terbang) |
สายการบิน |
ซยาริการ์ด ปีเนอบันกัน (syarikat penerbangan) |
รถสามล้อ |
ทริสสิกัล (trisikal) |
|
|
|
*หมายเหตุ : มาเลเซีย และ บรูไน ใช้ภาษาเดียวกัน |
|
|
- ชื่อทางการ : สหภาพพม่า (Union of Myanmar)
- ที่ตั้ง : ตั้งอยู่ที่ละติจูดที่ 28 องศา 30 ลิปดา ถึง 10 องศา 20 ลิปดาเหนือ ภูมิประเทศตั้งอยู่ตามแนวอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามันทำให้มีชายฝั่งทะเลยาวถึง 2,000 ไมล์
- บทความ : ความ SMEs | ความแฟรนไชส์ | ความค้าขาย
|
สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ (The Republic of the Union of Myanmar)
ข้อมูลทั่วไป (ข้อมูล ปี 2010)
เมืองหลวง: กรุงเนปีดอว์
พื้นที่: 677,000 ตารางกิโลเมตร
จำนวนประชากร: 51 ล้านคน
ภาษา: พม่า
GDP: 28.7 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ
GDP per capita: 469 เหรียญสหรัฐฯ
GDP Growth: ร้อยละ 5.3
|
ความหมายของธงชาติ
มีลักษณะเป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งตามแนวนอน ความกว้างเท่ากัน พื้นสีเหลือง สีเขียว และสีแดง เรียงตามลำดับจากบนลงล่าง กลางธงมีรูปดาวห้าแฉกสีขาวขนาดใหญ่ ความหมายของสัญลักษณ์ในธงชาติประกอบด้วย
- สีเขียวหมายถึงสันติภาพ ความสงบ และความอุดมสมบูรณ์ของพม่า
- สีเหลืองหมายถึงความสามัคคี สีแดงหมายถึงความกล้าหาญ ความเข้มแข็ง เด็ดขาด
- ดาวสีขาวหมายถึงสหภาพอันมั่นคงเป็นเอกภาพ
การค้าระหว่างไทย – พม่า (2010)
- มูลค่าการค้าระหว่างประเทศ (ม.ค. - ต.ค.): 4,026.78 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยไทยเสียเปรียบดุลการค้า 629.91 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
- สินค้าส่งออกหลักของไทยไปพม่า ได้แก่ น้ำมันสำเร็จรูป เครื่องดื่ม ปูนซีเมนต์ เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ เคมีภัณฑ์
- สินค้านำเข้าหลักจากพม่า ได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ ไม้ซุง ไม้แปรรูปและผลิตภัณฑ์ เนื้อสัตว์สำหรับการบริโภค ผักผลไม้และของ ปรุงแต่งที่ทำจากผักผลไม้ สินแร่โลหะอื่นๆ เศษโลหะและผลิตภัณฑ์
- ตลาดส่งออกที่สำคัญของพม่า ได้แก่ ไทย อินเดีย จีน ฮ่องกง สิงคโปร์ ญี่ปุ่น
- ตลาดนำเข้าที่สำคัญของพม่า ได้แก่ สิงคโปร์ จีน ไทย ญี่ปุ่น อินเดีย มาเลเซีย
โอกาส
- การพัฒนาตลาดของพม่าในอนาคตอาจจะพัฒนามากขึ้นจากการเข้าเป็นสมาชิกอาเซียน
- มีขนาดตลาดใหญ่ ซึ่งไทยสามารถใช้พม่าเป็นประตูระบายสินค้าของไทยสู่ประเทศที่สาม เป็นประตูสู่จีนและอินเดีย รวมทั้งใช้พม่าเป็นฐานในการผลิตสินค้าเพื่อการส่งออก
- ทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การเป็นฐานการผลิตด้านอุตสาหกรรม
- ประชาชนนิยมสินค้าไทย และมีแนวโน้มนำเข้าสินค้าจาก ไทยแทนจีน นักลงทุนไทยจึงควรร่วมลงทุน (เพื่อลดต้นทุนการผลิต) หรือจัดตั้งบริษัทหรือตัวแทนธุรกิจเพื่อการเจาะตลาดอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการสร้างความสัมพันธ์กับเจ้าหน้าที่ระดับสูงและนักธุรกิจทั่วไป เพื่อขยายเครือข่ายการทำธุรกิจร่วมกัน
- มีความต้องการวัสดุก่อสร้าง และบริการรับเหมาก่อสร้างจำนวนมาก หลังจากการย้ายเมืองหลวงไปยังกรุงเนปิดอร์
ทักทาย
อาหาร
นับเลข
ช้อปปิ้ง
สกุลเงิน
เดินทาง
ทั่วไป
|
คำศัพท์ |
คำอ่าน |
สวัสดี |
มิงกะลาบา |
มิง-กะ-ลา-บา |
ขอบคุณ |
เจซูติน บาแด |
เจ-ซู-ติน-บา-แด |
สบายดีไหม |
เนก็องบาตะล้า |
เน-ก็อง-บา-ตะ-ล้า |
ยินดีที่ได้รู้จัก |
ตุ๊ยยาดา หวันตาบ่าแด |
ตุ๊ย-ยา-ดา-หวัน-ตา-บ่า-แด |
พบกันใหม่ |
อะติดตุ๊ย |
อะ-ติ๊ด-ตุ๊ย |
ลาก่อน |
เจ๊ะ โจร แม่ |
เจ๊ะ-โจน-แม่ |
นอนหลับฝันดี |
อิม แม่เก๊าแม่บ่าเสะ |
อิม-แม่-เก๊า-แม่-บ่า-เสะ |
เชิญ |
ดี เน ยา มา |
ดี-เน-ยา-มา |
ใช่ |
โฮ๊ะ เด |
โฮ๊ะ-เด |
ไม่ใช่ |
มาโฮ๊ะบู |
มา-โฮ๊ะ-บู |
อากาศดีจัง |
ยาดิอุตุเกาแน่ |
ยา-ดิ-อุ-ตุ-เกา-แน่ |
อากาศร้อนมาก |
ยาดิอุอุตุปูแด่ |
ยา-ดิ-อุ-อุ-ตุ-ปู-แด่ |
อากาศหนาวมาก |
ยาดิอุตุเอแด่ |
ยา-ดิ-อุ-ตุ-เอ-แด่ |
ไม่เป็นไร |
ปามามับชิบบู |
ปา-มา-มับ-ชิบ-บู |
ขอโทษ |
เตา บั่น บ่า เต่ |
เตา-บั่น-บ่า-เต |
|
คำศัพท์ |
คำอ่าน |
อาหารเช้า |
เมเนะซะ |
เม-เนะ-ซะ |
อาหารกลางวัน |
ฉเรซะ |
ชะ-เร-ซะ |
อาหารเย็น |
ยะซะ |
ยะ-ซะ |
อาหารค่ำ |
ยะซะ |
ยะ-ซะ |
ข้าว |
แฮะ |
แฮะ |
น้ำ |
หยี่ |
หยี |
น้าชา |
หยี่นุย |
หยี่-นุย |
น้ำแข็ง |
หยี่เค |
หยี่-เค |
กาแฟ |
ก่อฝี่ |
ก่อ-ฝี่ |
กาแฟเย็น |
ก่อฝี่เอ |
ก่อ-ฝี่-เอ |
กาแฟร้อน |
ก่อฝี่จาน |
ก่อ-ฝี่-จาน |
นม |
นุ่ก |
นุ่ก |
ครีม |
ไล |
ไล |
น้ำผลไม้ |
แต็ดตี่ยี่ |
แต็ด-ตี่-ยี่ |
เนื้อหมู |
แว้ตตา |
แว้ด-ตา |
ไก่ |
เจ้ดตา |
แจ้ด-ตา |
ปลา |
งา |
งา |
เนื้อวัว |
อเมตา |
อะ-เม-ตา |
ผัก |
ฮิมย่วน |
ฮิม-ย่วน |
ผลไม้ |
ติดตี่ |
ติด-ตี่ |
อร่อย |
กงเหน |
กง-เหน |
ไม่อร่อย |
สะกงยุ่ง |
สะ-กง-ยุ่ง |
เผ็ด |
เชเด |
เช-เด |
หวาน |
โชเด |
โช-เด |
เปรี้ยว |
ชินเด |
ชิน-เด |
เค็ม |
หงานเด |
หงาน-เด |
ก๋วยเตี๋ยว |
เข้าซอย |
เข้า-ซอย |
น้ำแกง |
อีเย่ |
อี-เย่ |
ของหวาน |
โม่งโชเด |
โม่ง-โช-เด |
ขนม |
โมก |
โมก |
ไอศครีม |
หยี่เคโมก |
หยี่-เค-โมก |
|
คำศัพท์ |
คำอ่าน |
หนึ่ง |
ติ๊ |
ติ๊ |
สอง |
นิ |
นิ |
สาม |
โตง |
โตง |
สี่ |
เล |
เล |
ห้า |
งา |
งา |
หก |
เช่า |
เช่า |
เจ็ด |
ข่น |
ข่น |
แปด |
ชิ |
ชิ |
เก้า |
โก |
โก |
สิบ |
ต้ะเส่ |
ต้ะ-เส่ |
วัน |
เยะ,เนะ |
เยะ,เนะ |
สัปดาห์ |
เดอะแปะ |
เดอะแปะ |
เดือน |
ล่า |
ล่า |
ปี |
นิ |
นิ |
กี่โมงแล้ว |
ปะนันนาหยีได้ |
ปะ-นัน-นา-หยี-ได้ |
ชั่วโมง |
หน่าหยี่ |
หน่า-หยี่ |
นาที |
มีนีท |
มี-นีด |
|
|
|
เวลาช่วงเช้า (AM) |
เนียแนะอะเฉ่ย |
เนีย-แนะ-อะ-เฉ่ย |
ตี 1 |
มูนนะ ดันนายี |
มูน-นะ ดัน-นา-ยี |
ตี 2 |
มูนนะ นันนายี |
มูน-นะ นัน-นา-ยี |
ตี 3 |
มูนนะ ตงนายี |
มูน-นะ ตง-นา-ยี |
ตี 4 |
มูนนะ ลีนายี |
มูน-นะ ลี-นา-ยี |
ตี 5 |
มูนนะ มานายี |
มูน-นะ มา-นา-ยี |
6 โมง |
บันแนะ ชองนายี |
บัน-แนะ ชอง-นา-ยี |
7 โมง |
บันแนะ คุณนะนายี |
บัน-แนะ คุน-นะ-นา-ยี |
8 โมง |
บันแนะ ชมนายี |
บัน-แนะ ชม-นา-ยี |
9 โมง |
บันแนะ กูนายี |
บัน-แนะ กู-นา-ยี |
10 โมง |
บันแนะ เซนายี |
บัน-แนะ เซ-นา-ยี |
11 โมง |
บันแนะ เซเต็นนายี |
บัน-แนะ เซ-เต็น-นา-ยี |
12.00 น. เที่ยง |
มูนเดะ เซ็นเต็นนายี |
มูน-เดะ เซ็น-เต็น-นา-ยี |
|
|
|
เวลาช่วงบ่าย (PM) |
มูลเดะ เซ็นนันนายีขอเดะ |
มูล-เดะ เซ็น-นัน-นา-ยี-ขอ-เดะ |
13.00 น. |
มูนเละ ดันนายี |
มูน-เละ ดัน-นา-ยี |
14.00 น. |
มูนเละ นันนายี |
มูน-เละ นัน-นา-ยี |
15.00 น. |
มูนเละ ตงนายี |
มูน-เละ ตง-นา-ยี |
16.00 น |
เนี่ย ลีนะหยี |
เนี่ย ลี-นะ-หยี |
17.00 น |
เนี่ยมานาหาหยี |
เนี่ย-มา-นา-หา-หยี |
18.00 น. |
เนี่ยชวานาหยี |
เนี่ย-ชะ-วา-นา-หยี |
19.00 น. |
เนี่ยโคนันหยี |
เนี่ย-โค-นัน-หยี |
20.00 น. |
เนี่ยชินนาหยี |
เนี่ย-ชิน-นา-หยี |
21.00 น. |
เนี่ยโกหาหยี |
เนี่ย-โก-หา-หยี |
22.00 น. |
เนี่ยเนวาหยี |
เนี่ย-เน-วา-หยี |
23.00 น. |
เนียเนทเดนนาหยี |
เนีย-เนด-เดน-นา-หยี |
24.00 น. |
เนียเชทนันนาหยี |
เนีย-เชด-นัน-นา-หยี |
|
คำศัพท์ |
คำอ่าน |
ราคาเท่าไร |
ซินนงเชเหล้าดง |
ซิน-นง-เช-เหล้า-ดง |
ลดราคาได้ไหม |
ซินนงโชวิดูลานะ |
ซิน-นง-โช-วิ-ดู-ลา-นะ |
เงินทอน |
โป๊ะแชนอาน |
โป๊ะ-แชน-อาน |
เงินสด |
โป๊ะแชน |
โป๊ะ-แชน |
บัตรเครติด |
- |
- |
ราคาแพง |
สินนงจิเย่ |
สิน-นง-จิ-เย่ |
ราคาถูก |
สินนงบ่เด่ |
สิน-นง-บ่อ-เด่ |
ซื้อ |
แวแม |
แว-แม |
ไม่ซื้อ |
บ่แวแม |
บ่อ-แว-แม |
เสื้อผ้า |
เอนจี |
เอน-จี |
รองเท้า |
แพนนะ |
แพน-นะ |
เครื่องสำอางค์ |
เนียนาเลียนเซียนเดฮา |
เนีย-นา-เลียน-เซียน-เด-ฮา |
ยา |
เซ |
เซ |
เครื่องใช้ไฟฟ้า |
มีโต๊ะเปียนชี |
มี-โต๊ะ-เปียน-ชี |
กระเป๋า |
ปะตาเอ๊ะ |
ปะ-ตา-เอ๊ะ |
กระเป๋าสตางค์ |
โบ๊ะลาเอ๊ |
โบ๊ะ-ลา-เอ๊ |
หนังสือเดินทาง |
มะโปงดีน |
มะ-โปง-ดีน |
แว่นตา |
แมยะก์หมั่น |
แม-ยะ-หมั่น |
นาฬิกาข้อมือ |
และก์ป๊ะก์หน่าหยี่ |
และ-ป๊ะ-หน่า-หยี่ |
หมวก |
โอ้วก์โท่วกื |
โอ้ว-โท้ว |
กางเกง |
เบาน์บี่ |
เบา-บี่ |
น้ำหอม |
เหย่-ฮเมว |
เหย่-ฮะเมว |
|
คำศัพท์ |
คำอ่าน |
ห้องน้ำ |
เองดา |
เอง-ดา |
โทรศัพท์ |
อับยาโตงโพง |
อับ-ยา-โตง-โพง |
โทรศัพท์สาธารณะ |
- |
- |
บัตรเติมเงิน |
โบ๊ะแชนเทกเกะ |
โบ๊ะ-แชน-เทก-เกะ |
โทรศัพท์มือถือ |
ละไก่โพง |
ละ-ไก่-โพง |
ตู้ ATM |
ยงเอทีเอ็ม |
ยง-เอ-ที-เอ็ม |
ผ้าเย็น |
ปะวาเอ |
ปะ-วา-เอ |
รองเท้าแตะ |
เพนนันเน |
เพน-นัน-เน |
ผ้าเช็ดตัว |
โกโตเดแบ้น |
โก-โต-เด-แบ้น |
ผ้าเช็ดหน้า |
เละไก่หว่า |
เละ-ไก่-หว่า |
กล้องถ่ายรูป |
ก่าเหม่หร่า |
ก่า-เหม่-หร่า |
กล้องวีดีโอ |
ดับโพงยายเดห่า |
ดับ-โพง-ยาย-เดห่า |
วิทยุ |
เหรี่ดี่โหย่ |
เหร่-ดี่-โหย่ |
แปรงสีฟัน |
ฏวาไต้ก์เซ |
ตะ-วา-ไต้-เซ |
นาฬิกาปลุก |
หน่าหยี่โนแซะก์ |
หน่า-หยี่-โน-แซะ |
แก้ว |
ผั่น์แควะ |
ผั่น-แค-วะ |
หมอน |
กาวน์โอง |
กาว-โอง |
กระดาษชำระ |
ติ๊ก์ซู |
ติ๊-ซู |
|
คำศัพท์ |
คำอ่าน |
สกุลเงิน |
จ๊าด |
จ๊าด |
|
|
|
ชนิดของเงิน |
|
|
เหรียญ |
|
|
1 บาท |
เดเจีย |
เด-เจีย |
2 บาท |
แบนะเจีย |
แบ-นะ-เจีย |
10 บาท |
เซเกีย |
เซ-เกีย |
|
|
|
ธนบัตร |
|
|
20 บาท |
แหนะเซเกีย |
แหนะ-เซ-เกีย |
50 บาท |
หวาเซเกีย |
หวา-เซ-เกีย |
100 บาท |
เตยาเกีย |
เต-ยา-เกีย |
500 บาท |
นาหยานเกี่ยะ |
นา-หยาน-เกี่ยะ |
1000 บาท |
ตะทัมเชี่ยะ |
ตะ-ทัม-เชี่ยะ |
|
คำศัพท์ |
คำอ่าน |
โรงแรม |
เต้โข่คาน |
เต้-โข่-คาน |
โรงภาพยนต์ |
โยชินยง |
โย-ชิน-ยง |
โรงละคร |
แซปวย |
แซ-ปวย |
โรงพยาบาล |
เซยง |
ซะ-เยง |
พิพิธภัณฑ์ |
อะฮ่องเก่าเดนีย่า |
อะ-ฮ่อง-เก่า-เด-นี-ย่า |
สถานีตำรวจ |
เยสะคัน |
เย-สะ-คัน |
ภัตตาคาร |
เทฆเยาเดะไซ |
เท-คะ-เยา-เดะ-ไซ |
ถนน |
แล |
แล |
ร้านค้า |
ไซ |
ไซ |
ห้างสรรพสินค้า |
สตูไซ |
สะ-ตู-ไซ |
ร้านขายยา |
ลียองเดไซ |
ลี-ยอง-เด-ไซ |
สวนสาธารณาะ |
บันเชียน |
บัน-เชียน |
สนามกีฬา |
กะชาอุย |
กะ-ชา-อุย |
สนามบิน |
เลยินกวิน |
เล-ยิน-กะ-วิน |
สถานีขนส่งสายเหนือ |
เหมี่ยวกาเกะ |
เหมี่ยว-กา-เกะ |
สถานีขนส่งสายใต้ |
ตองกาเกะ |
ตอง-กา-เกะ |
สถานีขนส่งสายตะวันออก |
อเชกาเกะ |
อะ-เช-กา-เกะ |
ธนาคาร |
แบงค์ |
แบ๊ง |
รถแท็กซี่ |
แท็กซ์กา |
แท็ก-กา |
รถเมล์ |
บ๊ะก์สะกา |
บ๊ะ-สะ-กา |
รถไฟฟ้า |
ยะทา |
ยะ-ทา |
รถไฟฟ้าใต้ดิน |
เมเอายะทา |
เม-เอา-ยะ-ทา |
เรือ |
เล |
เล |
รถท้วร์ |
มันโลงกา |
มัน-โลง-กา |
เครื่องบิน |
ลียิมเบียน |
ลี-ยิม-เบียน |
สายการบิน |
- |
- |
รถสามล้อ |
ตงเบงชานเย่ |
ตง-เบง-ชาน-เย่ |
บ้าน |
เอ่ง |
เอ่ง |
โรงเรียน |
เจา |
เจา |
ตลาด |
เช |
เช |
ถนน |
ลัน์ |
ลัน |
รถยนต์ |
กา |
กา |
|
|
- ชื่อทางการ : สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines)
- ที่ตั้ง : เป็นประเทศหมู่เกาะที่ประกอบด้วยเกาะจำนวนทั้งสิ้น 7,107 เกาะ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิก ห่างจากเอเชียแผ่นดินใหญ่ทางตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ 100 กม. และมีลักษณะพิเศษ คือ เป็นประเทศเพียงหนึ่งเดียวที่มีพรมแดนทางทะเลที่ติดต่อระหว่างกันยาวมากที่สุดในโลก
- บทความ : ความ SMEs | ความแฟรนไชส์
|
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines)
ข้อมูลทั่วไป (ข้อมูล ปี 2010)
เมืองหลวง: กรุงมะนิลา
พื้นที่: 298,170 ตารางกิโลเมตร
จำนวนประชากร: 93 ล้านคน
ภาษา: ตากาล็อกและภาษาอังกฤษ
GDP: 158.7 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ
GDP per capita: 1,721 เหรียญสหรัฐฯ
|
ความหมายของธงชาติ
มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ตอนต้นธงเป็นรูปสามเหลี่ยมสีขาว ภายในมีรูปดวงอาทิตย์รัศมี 8 แฉก ล้อมด้วยดาวห้าแฉก 3 ดวง ตามมุมของรูปสามเหลี่ยม รูปเหล่านี้เป็นสีทอง ส่วนทีเหลือของธงนั้นเป็นแถบแบ่งครึ่งตามด้านยาวของธง ครึ่งบนพื้นสีน้ำเงิน ครึ่งล่างพื้นสีแดง หากแถบทั้งสองสีนี้สลับตำแหน่งกัน คือ แถบสีแดงอยู่บน แถบสีน้ำเงินอยู่ตอนล่าง แสดงว่าประเทศฟิลิปปินส์อยู่ในภาวะสงคราม สามเหลี่ยมสีขาวเป็นเครื่องหมายแทนความเสมอภาคและภราดรภาพ
- พื้นสีน้ำเงินหมายถึงสันติภาพ สัจจะ และความยุติธรรม
- พื้นสีแดงหมายถึงความรักชาติและความมีคุณค่า
- รูปดวงอาทิตย์มีรัศมีแปดแฉกหมายถึงแปดจังหวัดแรกของประเทศ อันได้แก่ จังหวัดบาตังกาส, จังหวัดบูลาคัน, จังหวัดคาวิเต, จังหวัดลากูนา, จังหวัดมะนิลา, จังหวัดนูเอวา เอคิยา, จังหวัดปัมปังกา และจังหวัดตาร์ลัค ซึ่งพยายามเรียกร้องเอกราชจากสเปนและฝ่ายสเปนได้บังคับใช้กฎอัยการศึกในพื้นที่เหล่านั้นเมื่อเริ่มเหตุการณ์การปฏิวัติฟิลิปปินส์ในปี พ.ศ. 2439
- ดาวสามดวงหมายถึงหมายถึงการแบ่งพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของประเทศออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆ ได้แก่ เกาะลูซอน เกาะมินดาเนา และหมู่เกาะวิสายัน
การค้าระหว่างไทย – ฟิลิปปินส์ (2010)
- มูลค่าการค้าระหว่างประเทศ: 7261.53 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยไทย ได้เปรียบ ดุลการค้า 2,510.75 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
- สินค้าส่งออกหลักของไทยไปฟิลิปปินส์ ได้แก่ รถยนต์และส่วนประกอบ น้ำมันสำเร็จรูป แผงวงจรไฟฟ้า ข้าว เม็ดพลาสติก และน้ำตาลทราย
- สินค้านำเข้าหลักจากฟิลิปปินส์ ได้แก่ แผงวงจรไฟฟ้า ส่วนประกอบ และอุปกรณ์ยานยนต์ สินแร่โลหะอื่นๆ เศษโลหะและผลิตภัณฑ์ เครื่องจักร ไฟฟ้าและส่วนประกอบ เครื่องมือเครื่องใช้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
- ตลาดส่งออกที่สำคัญของฟิลิปปินส์ ได้แก่ สหรัฐฯ ญี่ปุ่น จีน ฮ่องกง ไทย (อันดับ 11)
- ตลาดนำเข้าที่สำคัญของฟิลิปปินส์ ได้แก่ สหรัฐฯ ญี่ปุ่น สิงคโปร์ ไทย (อันดับ 8)
โอกาส
- ไทยสามารถแลกเปลี่ยนสินค้ากึ่งสำเร็จรูป เพื่อใช้ในการผลิตสินค้าสำเร็จรูป เป็นการลดต้นทุนการผลิต เนื่องจากสินค้า IT มีการพัฒนา และเปลี่ยนแปลงเร็วมาก
- คุ้มค่าในการเจาะตลาดเนื่องจากมีประชากรมาก นอกจากนี้ ฟิลิปปินส์มีการส่งคนไปทำงานในต่างประเทศ และนำรายได้เข้าประเทศ ทำให้ฐานะความเป็นอยู่ของคนในประเทศดีขึ้น และมีกำลังซื้อมากขึ้น
- มีแรงงานที่มีความรู้ด้าน IT จำนวนมาก ทำให้สามารถพัฒนาและส่งออกสินค้า IT ในระยะเวลาอันสั้น
- มีทรัพยากรธรรมชาติที่ยังไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ เช่น สัตว์น้ำ ทรัพยากรแร่ พื้นที่การเกษตรทางภาคใต้
อุปสรรค
- มีมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี เช่น การกำหนดมาตรฐานการนำเข้าสินค้าที่เข้มงวดในเรื่องการผลิต และสุขอนามัย และมีกฎระเบียบขั้นตอนการนำเข้ายุ่งยาก ต้องใช้เวลานาน
- สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานไม่เพียงพอ
- มีการเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบราชการอยู่เสมอ กฎระเบียบเข้มงวด
- มีการฉ้อราษฎร์บัง หลวงสูง
- สหภาพแรงงานแข็งแกร่ง และมีบทบาทมาก
ข้อควรรู้
- การเข้าไปประกอบธุรกิจในฟิลิปปินส์ในลักษณะต่างๆ เช่น การลงทุนร่วมกับฝ่ายฟิลิปปินส์จำเป็นต้องมีการศึกษาข้อมูลให้ละเอียด โดยเฉพาะในด้านกฎหมาย การจดทะเบียนภาษี และปัญหาทางด้านแรงงาน เป็นต้น
Link ที่น่าสนใจ
ทักทาย
อาหาร
นับเลข
ช้อปปิ้ง
สกุลเงิน
เดินทาง
ทั่วไป
| คำศัพท์ |
สวัสดี |
กูมูสต้า (kumusta) |
ขอบคุณ |
ซาลามัต (salamat) |
สบายดีไหม |
กูมูสต้า กา (kumusta ka) |
ยินดีที่ได้รู้จัก |
นาตูตูวา นาอลัม โม (natutuwa na alam no) |
พบกันใหม่ |
มากิตา คายอง มูลิ (makita kayong muli) |
ลาก่อน |
ปาอาลัม (paalam) |
นอนหลับฝันดี |
มาทูลอก นัง มาบูติ (matulog nang mabuti) |
เชิญ |
แมค อันยาย่า (mag-anyaya) |
ใช่ |
โอ้โอ (oo) |
ไม่ใช่ |
ฮินดี้ (hindi) |
อากาศดีจัง |
มากันดัง พานาฮอน (magandang panahon) |
อากาศร้อนมาก |
มัสยาดอง มาอินิท (masyadong mainit) |
อากาศหนาวมาก |
มัสยาดอง มาลามิค พานาฮอน |
|
(masyadong malamig panahon) |
ไม่เป็นไร |
ฮินดี้ บาเล (hindi bale) |
| คำศัพท์ |
น้ำ |
ทูบิก (tubig) |
น้ำชา |
อั๊ง จะอ้า (ang tsaa) |
น้ำแข็ง |
เยโล่ (yelo) |
กาแฟ |
อั๊ง ขะเพ่ (ang kape) |
กาแฟเย็น |
เยโล่ ขะเพ่ (yelo kape) |
กาแฟร้อน |
มาอินิด นา ขะเพ่ (mainit na kape) |
นม |
กาตัส (gatas) |
ครีม |
ครีม (cream) |
น้ำผลไม้ |
จู๊ยส์ (juice) |
เนื้อหมู |
อั๊ง บาโบย (ang baboy) |
ไก่ |
อั๊ง มะนก (ang manok) |
ปลา |
อั๊ง อิสด้า (ang isda) |
เนื้อวัว |
อั๊ง คาเน่ (ang karne) |
ผัก |
กูเล (gulay) |
ผลไม้ |
อั๊ง พรูตัส (ang prutas) |
อร่อย |
มาซารับ (masarap) |
ไม่อร่อย |
ฮินดี้ มาซารับ (hindi masarap) |
เผ็ด |
มาอางแฮง (maanghang) |
หวาน |
มาตามิส (matamis) |
เปรี้ยว |
มาซิม (maasim) |
เค็ม |
มาลัด (maalat) |
ก๋วยเตี๋ยว |
มิกิ (miki) |
น้ำแกง |
โซปัส (sopas) |
ของหวาน |
ฮิมากัส (himagas) |
ขนม |
ดิเซิ้ร์ท (dessert) |
ไอศครีม |
ซอร์เบเทส (sorbetes) |
| คำศัพท์ |
หนึ่ง |
อิซ่า (isa) |
สอง |
ดาราวา (darawa) |
สาม |
แท้ทโล่ (tatlo) |
สี่ |
อะพัต (apat) |
ห้า |
ลิม่า (lima) |
หก |
อะนิม (anim) |
เจ็ด |
พิโต้ (pito) |
แปด |
วาโล่ (walo) |
เก้า |
สิแยม (siyam) |
สิบ |
ซำปู (sampu) |
วัน |
อะรอ (araw) |
สัปดาห์ |
ลิ้งโก้ (linggo) |
เดือน |
บูวาน (buwan) |
ปี |
ทาออน (taon) |
กี่โมงแล้ว |
อนง ออราส นา (anong oras na) |
ชั่วโมง |
ออราส (oras) |
นาที |
มินูโต้ (minuto) |
|
|
เวลาช่วงเช้า (AM) |
อัง อูมาก้า (ng umaga) แปลว่าตอนเช้า |
ตี 1 |
อลา อูน่า (ala-una) |
ตี 2 |
อลาส โดส (alas-dos) |
ตี 3 |
อลาส เตรส์ (alas-tres) |
ตี 4 |
อลาส คูวัดโตร (alas-kuwatro) |
ตี 5 |
อลาส ซิงโก (alas-singko) |
6 โมง |
อลาส ซาอิส (alas-sais) |
7 โมง |
อลาส ซีเยเต้ (alas-siyete) |
8 โมง |
อลาส อ้อตโซ่ (alas-otso) |
9 โมง |
อลาส นูเวเบ้ (alas-nuwebe) |
10 โมง |
อลาส ดิเยส (alas-diyes) |
11 โมง |
อลาส ออนเซ่ (alas-onse) |
12.00 น. เที่ยง |
อาลาส โดส (alas-dose) |
|
|
เวลาช่วงบ่าย (PM) |
อัง ฮาปอน (ng hapon) แปลว่าตอนบ่าย |
13.00 น. |
อลา อูน่า อัง ฮาปอน (ala-una ng hapon) |
14.00 น. |
อลาส โดส อัง ฮาปอน (alas-dos ng hapon) |
15.00 น. |
อลาส เตรส์ อัง ฮาปอน (alas-tres ng hapon) |
16.00 น. |
อลาส คูวัดโตร อัง ฮาปอน (alas-kuwatro ng hapon) |
17.00 น. |
อลาส ซิงโก้ อัง ฮาปอน (alas-singko ng hapon) |
18.00 น. |
อลาส ซาอิส อัง ฮาปอน (alas-sais ng hapon) |
|
|
เวลาช่วงค่ำ (PM) |
อัง กาบิ (ng gabi) แปลว่าเวลาค่ำ |
19.00 น. |
อลาส ซีเยเต้ อัง กาบิ (alas-siyete ng gabi) |
20.00 น. |
อลาส อ้อตโซ่ อัง กาบิ (alas-otso ng gabi) |
21.00 น. |
อลาส นูเวเบ้ อัง กาบิ (alas-nuwebe ng gabi) |
22.00 น. |
อลาส ดิเยส อัง กาบิ (alas-diyes ng gabi) |
23.00 น. |
อลาส ออนเซ่ อัง กาบิ (alas-onse ng gabi) |
24.00 น. |
ฮาติง กาบิ (hating gabi) |
| คำศัพท์ |
ราคาเท่าไร |
มักกาโน่ (magkano) |
ลดราคาได้ไหม |
ซาแพคเบเบนต้า ซา อะคิน (sa pagbebenta sa akin) |
เงินทอน |
อั๊ง แพคบาบาโก (ang pagbabago) |
เงินสด |
แคช (cash) |
บัตรเครดิต |
เครดิต การ์ด (credit card) |
ราคาแพง |
มาฮาล (mahal) |
ราคาถูก |
มูร่า (mura) |
ซื้อ |
บูมิลิ (bumili) |
ไม่ซื้อ |
ฮินดี้ บูมิลิ (hindi bumili) |
เสื้อผ้า |
เทล่า (tela) |
รองเท้า |
ซาปาโตส (sapatos) |
เครื่องสำอางค์ |
คอสเมติโก้ (kosmetiko) |
ยา |
กาม้อต (gamot) |
เครื่องใช้ไฟฟ้า |
กาซังกาปาน (kasangkapan) |
กระเป๋า |
ซูพด (supot) |
กระเป๋าสตางค์ |
พิตาก้า (pitaka) |
หนังสือเดินทาง |
พาสปอร์ตเต้ (passporte) |
| คำศัพท์ |
ห้องน้ำ |
บันโย (banyo) |
โทรศัพท์ |
เทเลโฟโน่ (telephono) |
โทรศัพท์สาธารณะ |
ปัมปูบลิคอง เทเลโฟโน่ (pampublikong telephono) |
บัตรเติมเงิน |
พรีเพทการ์ด (prepaid card) |
โทรศัพท์มือถือ |
เซลโฟน (cell phone) |
ตู้ ATM |
เอทีเอ็ม (ATM) |
ผ้าเย็น |
มาลามิค นา ตูวัลย่า (malamig na tuwalya) |
รองเท้าแตะ |
สิเนลาส (tsinelas) |
ผ้าเช็ดตัว |
ตูวัลย่า (tuwalya) |
ผ้าเช็ดหน้า |
ปันโย่ (panyo) |
กล้องถ่ายรูป |
คาเมร่า (camera) |
กล้องวีดีโอ |
แคมคอเด้อร์ (camcorder) |
|
|
สกุลเงิน |
เปโซ (Peso) |
|
อักษรย่อ : PHP (Philippines Peso) |
|
|
ชนิดของเงิน |
|
เหรียญ |
1, 5, 10, 25 เซ็นติโม่ |
|
100 เซ็นติโม่ (sentimo) = 1 เปโซ (peso) |
|
|
ธนบัตร |
5, 10, 20, 50, 100, 200, 500, 1000 เปโซ |
| คำศัพท์ |
โรงแรม |
โอเทล (otel) |
โรงภาพยนต์ |
ซีเนฮาน (sinehan) |
โรงละคร |
เทียโตร (teatro) |
โรงพยาบาล |
ออสปิตอล (ospital) |
พิพิธภัณฑ์ |
มูสิโอ้ (museo) |
สถานีตำรวจ |
เอสตัสยอน อัง ปูลิส (estasyon ng pulis) |
ภัตตาคาร |
เรสตอรอน (restawran) |
ถนน |
แคลยี่ (kalye) |
ร้านค้า |
มามิลี่ (mamili) |
ห้างสรรพสินค้า |
ดีพาร์ทเม้นท์สโตร์ (department store) |
ร้ายขายยา |
โบติก้า (botika) |
สวนสาธารณาะ |
แปมปูบลิคอน ปาเก้ (pampublikong parke) |
สนามกีฬา |
อิสตาเดี้ยม (istadyum) |
สนามบิน |
ปาริปารัน (paliparan) |
สถานีขนส่งสายเหนือ |
ฮิราก้า บัส เทอมินอล (hilaga bus terminal) |
สถานีขนส่งสายใต้ |
ติม้อก บัส เทอมินอล (timog bus terminal) |
สถานีขนส่งสายตะวันออก |
สิลังกัน บัส เทอมินอล (silangan bus terminal) |
ธนาคาร |
แบงโก้ (bangko) |
รถแท็กซี่ |
แท้กซี่ (taxi) |
รถเมล์ |
บัส (bus) |
รถไฟฟ้า |
เอ็มอาร์ที เม้ทโทร เรล ทรานสิท |
|
(MRT: Metro Rail Transit) |
รถไฟฟ้าใต้ดิน |
เอ็มอาร์ที (MRT) |
เรือ |
ลันซัง ปันตาวิท (lantsang pantawid) |
รถท้วร์ |
ลิเบร่ (libre) |
เครื่องบิน |
อีโรลาโน่ (eroplano) |
สายการบิน |
คอมปันย่า อัง อีโรปลาโน่ |
|
(kompanya ng eroplano) |
รถสามล้อ |
แท้ทลอง วีเล้อ (tatlong-wiler) |
|
|
- ชื่อทางการ : สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore)
- ที่ตั้ง : เป็นนครรัฐ ที่ตั้งอยู่บนเกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ละติจูด 1'17'35" เหนือ ลองจิจูด 103'51'20" ตะวันออก ตั้งอยู่ทางใต้สุดของคาบสมุทรมาเลย์ อยู่ทางใต้ของรัฐยะโฮร์ของประเทศมาเลเซีย และอยู่ทางเหนือของเกาะรีเยาของประเทศอินโดนีเซีย
- บทความ : ความ SMEs | ความแฟรนไชส์ | ความค้าขาย
|
สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore)
ข้อมูลทั่วไป (ข้อมูล ปี 2010)
เมืองหลวง: สิงคโปร์
พื้นที่: 697 ตารางกิโลเมตร
จำนวนประชากร: 5.1 ล้านคน
ภาษา: มาเลย์ จีนกลาง ทมิฬ และอังกฤษ
GDP: 217.4พันล้านเหรียญสหรัฐฯ
GDP per capita: 42,653 เหรียญสหรัฐฯ
GDP Growth: ร้อยละ 15
|
ความหมายของธงชาติ
เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ประกอบด้วยแถบสองสีแบ่งครึ่งกลางธง แถบสีแดงอยู่ด้านบน แถบสีขาวอยู่ด้านล่าง ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปพระจันทร์เสี้ยว ถัดจากรูปดังกล่าวมีรูปดาวห้าแฉก 5 ดวง เรียงเป็นรูปห้าเหลี่ยมด้านเท่า รูปเหล่านี้เป็นสีขาว ความหมายสำคัญขององค์ประกอบต่างๆ ในธง อันได้แก่
- สีแดง หมายถึงภราดรภาพและความเสมอภาคของมนุษย์โดยทั่วหน้า
- สีขาว หมายถึงความบริสุทธิ์และความดีงามที่แพร่หลายและคงอยู่ตลอดกาล
- รูปพระจันทร์เสี้ยว ซึ่งเป็นจันทร์เสี้ยวข้างขึ้น หมายถึงความเป็นชาติใหม่ที่ถือกำเนิดขึ้น ดาว 5 ดวง หมายถึงอุดมคติ 5 ประการของชาติ ได้แก่ ประชาธิปไตย สันติภาพ ความก้าวหน้า ความยุติธรรม และความเสมอภาค
การค้าระหว่างไทย – สิงคโปร์ (2010)
- มูลค่าการค้าระหว่างประเทศ: 15,303.69 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยไทยได้เปรียบดุลการค้า 2,715.22 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
- สินค้าส่งออกหลักของไทยไปสิงคโปร์ ได้แก่ น้ำมันสำเร็จรูป แผงวงจรไฟฟ้า เครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของเครื่อง และส่วนประกอบอากาศยาน และอุปกรณ์การบิน
- สินค้านำเข้าหลักจากสิงคโปร์ ได้แก่ เคมีภัณฑ์ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ แผงวงจรไฟฟ้า เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ น้ำมันสำเร็จรูป
- ตลาดส่งออกที่สำคัญของสิงคโปร์ ได้แก่ ฮ่องกง มาเลเซีย สหรัฐฯ อินโดนีเซีย จีน
- ตลาดนำเข้าที่สำคัญของสิงคโปร์ ได้แก่ มาเลเซีย สหรัฐฯ จีน ญี่ปุ่น
โอกาส
- มีทำเลที่ตั้งเป็นเมืองท่าที่สำคัญของโลก มีเครือข่ายธุรกิจกับคนสัญชาติจีนในประเทศต่างๆ ทำให้สิงคโปร์เป็นศูนย์กลางการค้าที่สำคัญ
- สามารถจัดตั้งธุรกิจได้อย่างสะดวกรวดเร็ว การดำเนินธุรกิจคล่องตัวเนื่องจากสิงคโปร์มีโครงสร้างพื้นฐานเศรษฐกิจที่เอื้ออำนวย อัตราภาษีที่แข่งขันได้ และบุคคลากรมีความรู้/ความชำนาญระบบการทำงานที่เป็นระเบียบและมีประสิทธิภาพ
- ใช้สิงคโปร์เป็นฐานในการส่งออกต่อ (re-export) สินค้าไทยไปสู่ประเทศที่สาม โดยอาศัยจุดแข็งของสิงคโปร์ในด้านการจัดการ การตลาด การเงิน/ธนาคาร การสื่อสาร การคมนาคมขนส่ง ระบบโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพ รวมถึงการจัดการด้าน Supply Chain ในระดับมาตรฐานโลก
- เป็นตลาดการค้าเสรีที่นักธุรกิจต่ างชาติสนใจมาลงทุนจำนวนมากและมีความหลากหลายในภาคธุรกิจส่งผลให้บริษัทไทยมีโอกาสประกอบธุรกิจทั้งในสิงคโปร์และสามารถต่อยอดเพิ่มได้อีกในประเทศของนักธุรกิจต่ างชาติอื่ นๆที่ เข้ามาลงทุนในสิงคโปร์ อีกทั้งได้รับผลประโยชน์จากการสร้างเครือข่ายกับบริษัทต่างชาติอื่นๆด้วย
ข้อควรรู้
- หน่วยราชการเปิดทำการวันจันทร์ – ศุกร์ ระหว่างเวลา 08.30 น.-13.00 น. และ 14.00 น. – 16.30 น. และวันเสาร์ เปิดทำการระหว่างเวลา 08.00 น. – 13.00 น.
- การหลบหนีเข้าสิงคโปร์และประกอบอาชีพเร่ขายบริการผิดกฎหมาย จะถูกลงโทษอย่างรุนแรง
- การลักลอบนำยาเสพติด อาวุธปืนและสิ่งผิดกฎหมายอื่นๆ จะได้รับโทษอย่างรุนแรงถึงขั้นประหารชีวิต
Link ที่น่าสนใจ
ทักทาย
อาหาร
นับเลข
ช้อปปิ้ง
สกุลเงิน
เดินทาง
ทั่วไป
| คำศัพท์ |
สวัสดี |
หนี ห่าว |
ขอบคุณ |
ซี่ยย เซี่ย |
สบายดีไหม |
หนี ห่าว |
ยินดีที่ได้รู้จัก |
เหิ่น เกา ซิ่ง เริ่น ชื่อ หนี่ |
พบกันใหม่ |
ไจ้เจี้ยน |
ลาก่อน |
ไจ้เจี้ยน |
นอนหลับฝันดี |
หวาน อัน |
เชิญ |
ฮวน หยิง |
ใช่ |
ชื่อ |
ไม่ใช่ |
บู๋ชื่อ |
อากาศดีจัง |
เทียน ชี เหิ่น ห่าว |
อากาศร้อนมาก |
เทียน ชี เหิ่น เร่อ |
อากาศหนาวมาก |
เทียน ชี เหิ่น เหลิ่ง |
ไม่เป็นไร |
เหมย เฉิน เมอ |
| คำศัพท์ |
อาหารเช้า |
เจ่า ชาน |
อาหารกลางวัน |
อู่ ชาน |
อาหารเย็น |
หว่าน ฟ้าน |
อาหารค่ำ |
หว่าน ชาน |
ข้าว |
หมี่ |
น้ำ |
ฉุ่ย |
น้าชา |
ฉา |
น้ำแข็ง |
ปิง |
กาแฟ |
คาเฟย |
กาแฟเย็น |
คู่ คาเฟย |
กาแฟร้อน |
เร่อ คาเฟย |
นม |
ไหน่ (หนิว ไหน่ นมโค) |
ครีม |
ไหน่ โหยว |
น้ำผลไม้ |
จือ |
เนื้อหมู |
จู โร่ว |
ไก่ |
จี |
ปลา |
หยู |
เนื้อวัว |
หนิ่ว โร่ว |
ผัก |
ไช่ |
ผลไม้ |
กั่ว |
อร่อย |
ห่าว ชือ |
ไม่อร่อย |
เวิน เร่อ |
เผ็ด |
ล่า |
หวาน |
เซียง |
เปรี้ยว |
ซวน |
เค็ม |
เสียน |
ก๋วยเตี๋ยว |
เมี่ยน เถียว |
น้ำแกง |
ทาง |
ของหวาน |
ทาง |
ขนม |
เถียน |
ไอศครีม |
ปิง ฉี หลิน |
| คำศัพท์ |
หนึ่ง |
อี |
สอง |
เอ้อ |
สาม |
ซาน |
สี่ |
ซื่อ |
ห้า |
อู่ |
หก |
ลิ่ว |
เจ็ด |
ชี |
แปด |
ปา |
เก้า |
จิ่ว |
สิบ |
ฉือ |
วัน |
รื่อ |
สัปดาห์ |
โจว |
เดือน |
เยวี่ย |
ปี |
เหนียน |
กี่โมงแล้ว |
เซี่ยน ไจ้ จี่ เตี่ยน |
ชั่วโมง |
ฉือ |
นาที |
เฟินจง |
|
|
เวลาช่วงเช้า (AM) |
ช่าง อู่ |
ตี 1 |
อี เตี่ยน |
ตี 2 |
เอ้อ เตี่ยน |
ตี 3 |
ซาน เตี่ยน |
ตี 4 |
ซื่อ เตี่ยน |
ตี 5 |
อู่ เตี่ยน |
6 โมง |
ลิ่ว เตี่ยน |
7 โมง |
ชี เตี่ยน |
8 โมง |
ปา เตี่ยน |
9 โมง |
จิ่ว เตี่ยน |
10 โมง |
ฉือ เตี่ยน |
11 โมง |
ฉือ อี เตี่ยน |
12.00 น. เที่ยง |
จง อู่ |
|
|
เวลาช่วงบ่าย PM) |
เซี่ย อู่ |
13.00 น. |
เซี่ย อู่ อี เตี่ยน |
14.00 น. |
เซี่ย อู่ เอ้อ เตี่ยน |
15.00 น. |
ซาน |
16.00 น |
เซี่ย อู่ ซื่อ เตี่ยน |
17.00 น |
เซี่ย อู่ อู่ เตี่ยน |
18.00 น. |
เซี่ย อู่ ลิ่ว เตี่ยน |
19.00 น. |
เซี่ย อู่ ชี เตี่ยน |
20.00 น. |
เซี่ย อู่ ปา เตี่ยน |
21.00 น. |
เซี่ย อู่ จิ่ว เตี่ยน |
22.00 น. |
เซี่ย อู่ ฉือ เตี่ยน |
23.00 น. |
เซี่ย อู่ ฉือ อี เตี่ยน |
| คำศัพท์ |
ราคาเท่าไร |
เจ้อ เก้อ จี่ เฉียน |
ลดราคาได้ไหม |
เข่อ อี่ เผียน อี อี้ เตี้ยน มา |
เงินทอน |
ไก่ |
เงินสด |
เซี่ยน จิน |
บัตรเครดิต |
ซิ่น ย่ง ข่า |
ราคาแพง |
กุ้ย |
ราคาถูก |
เผียน อี่ |
ซื้อ |
ไหม่ |
ไม่ซื้อ |
บู้ ไหม่ |
เสื้อผ้า |
ฟู๋ จวง |
รองเท้า |
เสีย จึ |
เครื่องสำอางค์ |
ฟู๋ จวง |
ยา |
เย่า |
เครื่องใช้ไฟฟ้า |
จึ |
กระเป๋า |
ไต้ |
กระเป๋าสตางค์ |
เฉียน เปา |
หนังสือเดินทาง |
ฮู่ เจ้า |
| คำศัพท์ |
ห้องน้ำ |
ซ่อ สั่ว |
โทรศัพท์ |
เตี้ยน ฮั่ว |
โทรศัพท์สาธารณะ |
กง ย่ง เตี้ยน หั้ว หว่าง ลู่ |
บัตรเติมเงิน |
- |
โทรศัพท์มือถือ |
โฉ่ว จี |
ตู้ ATM |
ฉู่ ขว่าน จี |
ผ้าเย็น |
ชิง เหลียง เหมา จิน |
รองเท้าแตะ |
เหมา จิน |
ผ้าเช็ดตัว |
ยู่ จิน |
ผ้าเช็ดหน้า |
โฉ่ว ปา |
กล้องถ่ายรูป |
ชู่ หม่า เซี่ยง จี |
กล้องวีดีโอ |
เช่อ เซี้ยง จี |
|
|
สกุลเงิน |
ไท่ จู |
|
|
ชนิดของเงิน |
|
เหรียญ |
เฉียน |
1 บาท |
เฉียน อี ไท่ จู |
2 บาท |
เฉียน เอ้อ ไท่ จู |
10 บาท |
เฉียน เอ้อ ไท่ จู |
|
|
ธนบัตร |
|
20 บาท |
จื่อปี้ เอ้อ ฉือ ไท่จู |
50 บาท |
อู่ ฉือ ไท่จู |
100 บาท |
อี ไป่ ไท่ จู |
500 บาท |
อู ไป่ ไท่ จู |
1000 บาท |
อี เชียน ไท่ จู |
| คำศัพท์ |
โรงแรม |
จิ่ว เตี้ยน |
โรงภาพยนต์ |
อยิ่ง เยวี้ยน |
โรงละคร |
- |
โรงพยาบาล |
อี เยวี่ยน |
พิพิธภัณฑ์ |
ปั๋ว อู้ กว่าน |
สถานีตำรวจ |
ไพ่ ชู สั่ว |
ภัตตาคาร |
ชาน กวาน |
ถนน |
ลู่ |
ร้านค้า |
เตี้ยน |
ห้างสรรพสินค้า |
ชาง ฉ่าง |
ร้ายขายยา |
เย่า ฝาง |
สวนสาธารณาะ |
ถิง |
สนามกีฬา |
ถี ยู่ กว่าน |
สนามบิน |
จี ฉ่าง |
สถานีขนส่งสายเหนือ |
เป่ย ฟาง ชี่ เชอ จง ต้วน จี |
สถานีขนส่งสายใต้ |
หนาน เซี้ยน ชี่ เชอ จง ต้วน จี |
สถานีขนส่งสายตะวันออก |
ชี่เชอจงต้วนจี |
ธนาคาร |
อิ๋น หาง |
รถแท็กซี่ |
จี้ เฉิง เชอ |
รถเมล์ |
ชี่ เชอ |
รถไฟฟ้า |
- |
รถไฟฟ้าใต้ดิน |
ถ่ง |
เรือ |
โจว |
รถท้วร์ |
ชี่เชอ |
เครื่องบิน |
เฟยจี |
สายการบิน |
หาง คง กง ซือ |
รถสามล้อ |
ซาน ลู่ เชอ |
|
|
- ชื่อทางการ : ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand)
- ที่ตั้ง : ตั้งอยู่บนคาบสมุทรอินโดจีน ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศตะวันออกติดประเทศลาวและประเทศกัมพูชา ทิศใต้ติดอ่าวไทยและประเทศมาเลเซีย ทิศตะวันตกติดทะเลอันดามันและประเทศพม่า และทิศเหนือติดกับประเทศพม่าและประเทศลาว โดยมีแม่น้ำโขงกั้นเป็นบางช่วง
- บทความ : ความ SMEs | ความแฟรนไชส์
|
ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand)
ข้อมูลทั่วไป (ข้อมูล ปี 2010)
เมืองหลวง: กรุงเทพมหานคร
พื้นที่: 513,115 ตารางกิโลเมตร
จำนวนประชากร: 66,720,153 คน(ปี 2554)
ภาษา: ไทย
GDP: 332,470 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
GDP per capita: 5,174 เหรียญสหรัฐฯ
|
ความหมายของธงชาติ
เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ธงไตรรงค์ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้สีหลักในธง 3 สี คือ สีแดง ขาว และน้ำเงิน ภายในแบ่งเป็นแถบ 5 แถบ แถบในสุดสีน้ำเงิน ถัดมาด้านนอกทั้งด้านบนและล่างเป็นสีขาวและสีแดงตามลำดับ แถบสีน้ำเงินมีขนาดใหญ่กว่าแถบสีอื่นเป็น 2 เท่า ความหมายสำคัญของธงไตรรงค์นั้นหมายถึงสถาบันหลักทั้งสามของประเทศไทย คือ
- ชาติ (สีแดง)
- ศาสนา (สีขาว)
- พระมหากษัตริย์ (สีน้ำเงิน)
สีทั้งสามนี้เองคือที่มาของการเรียกชื่อธงนี้ว่าธงไตรรงค์ (ไตร = สาม, รงค์ = สี) ในพระราชนิพนธ์ "เครื่องหมายแห่งไตรรงค์" ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์เมื่อ พ.ศ. 2464 ได้นิยามความหมายของธงไตรรงค์ไว้ว่า สีแดง หมายถึง เลือดอันยอมพลีให้แก่ชาติ สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์แห่งพระพุทธศาสนาและธรรมะ สีน้ำเงิน หมายถึง สีส่วนพระองค์ขององค์พระมหากษัตริย์ แม้นิยามดังกล่าวจะไม่ใช่คำอธิบายที่ทรงประกาศให้ใช้อย่างเป็นทางการ แต่ทั้งสามสิ่งนี้คืออุดมการณ์รัฐที่พระองค์ทรงปลูกฝัง เพื่อให้คนไทยเกิดสำนึกความเป็นชาตินิยมมาตลอดรัชสมัยของพระองค์
เศรษฐกิจ
ประเทศไทยมีเศรษฐกิจแบบผสม มีรายได้หลักจากอุตสาหกรรม การส่งออกสินค้าและบริการ การท่องเที่ยว การบริการ เกษตรกรรมและทรัพยากรธรรมชาติ ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีมูลค่าการส่งออกเป็นอันดับที่ 24 ของโลก และมีมูลค่าการนำเข้าเป็นอันดับที่ 23 ของโลก ตลาดนำเข้าสินค้าไทยที่สำคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น จีน สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สิงคโปร์ ไต้หวัน เกาหลีใต้ ซาอุดิอาระเบีย และอินโดนีเซีย ข้อมูลในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ประเทศไทยส่งออกสินค้ากว่า 406,990 ล้านบาท โดยสินค้าส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ เครื่องจักร 141,401 ล้านบาท อาหาร 52,332 ล้านบาท สินค้าอุคสาหกรรม 45,959 ล้านบาท และมีมูลค่าการนำเข้าราว 285,965 ล้านบาท โดยสินค้านำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ เครื่องจักร 113,421 ล้านบาท น้ำมันและเชื้อเพลิง 50,824 ล้านบาท และเคมีภัณฑ์ 46,376 ล้านบาท มีมูลค่าการค้าสุทธิ 121,025 ล้านบาท
ตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจ |
อัตราการว่างงาน |
1.5% (2553 ประมาณ) |
การเติบโตของจีดีพี |
-2.8% (2552 ประมาณ) |
ภาวะเงินเฟ้อ CPI |
-0.9% (2553) |
หนี้สาธารณะ |
4.27 ล้านล้านบาท (พ.ค. 2554) |
ความยากจน |
9.6% (2549 ประมาณ) |
อย่างไรก็ตาม แรงงานส่วนใหญ่ของไทยอยู่ในภาคเกษตรกรรม โดยมีข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจหลักที่สำคัญที่สุดของประเทศ และถือได้ว่าเป็นประเทศซึ่งส่งออกข้าวเป็นอันดับ 1 ของโลก ด้วยสัดส่วนการส่งออกคิดเป็นร้อยละ 36 ของโลก ประเทศไทยมีพื้นที่ซึ่งเหมาะต่อการเพาะปลูกกว่า 27.25% ซึ่งในจำนวนนี้กว่า 55% ใช้สำหรับการปลูกข้าว ส่วนพืชผลทางการเกษตรอื่น ๆ ได้แก่ ยางพารา ผักและผลไม้ต่าง ๆ รวมไปถึงมีการเพาะเลี้ยงปศุสัตว์ เช่น วัว สุกร เป็ด ไก่ สัตว์น้ำทั้งปลาน้ำจืด ปลาน้ำเค็มในกระชัง
ทักทาย
อาหาร
นับเลข
ช้อปปิ้ง
สกุลเงิน
เดินทาง
ทั่วไป
|
คำศัพท์ |
คำอ่าน |
สวัสดี |
สวัสดี |
สะ-หวัด-ดี |
ขอบคุณ |
ขอบคุณ |
ขอบ-คุน |
สบายดีไหม |
สบายดีไหม |
สะ-บาย-ดี-ไหม |
ยินดีที่ได้รู้จัก |
ยินดีที่ได้รู้จัก |
ยิน-ดี-ที่-ได้-รู้-จัก |
พบกันใหม่ |
พบกันใหม่ |
พบ-กัน-ใหม่ |
ลาก่อน |
ลาก่อน |
ลา-ก่อน |
นอนหลับฝันดี |
นอนหลับฝันดี |
นอน-หลับ-ฝัน-ดี |
เชิญ |
เชิญ |
เชิน |
ใช่ |
ใช่ |
ใช่ |
ไม่ใช่ |
ไม่ใช่ |
ไม่-ใช่ |
อากาศดีจัง |
อากาศดีจัง |
อา-กาด-ดี-จัง |
อากาศร้อนมาก |
อากาศร้อนมาก |
อา-กาด-ร้อน-มาก |
อากาศหนาวมาก |
อากาศร้อนมาก |
อา-กาด-หนาว-มาก |
ไม่เป็นไร |
ไม่เป็นไร |
ไม่-เปน-ไร |
ขอโทษ |
ขอโทษ |
ขอ-โทด |
|
คำศัพท์ |
คำอ่าน |
อาหารเช้า |
อาหารเช้า |
อา-หาน-เช้า |
อาหารกลางวัน |
อาหารกลางวัน |
อา-หาน-กลาง-วัน |
อาหารเย็น |
อาหารเย็น |
อา-หาน-เย็น |
อาหารค่ำ |
อาหารค่ำ |
อา-หาน-ค่ำ |
ข้าว |
ข้าว |
ข้าว |
น้ำ |
น้ำ |
น้ำ |
น้าชา |
น้าชา |
น้า-ชา |
น้ำแข็ง |
น้ำแข็ง |
น้ำ-แข็ง |
กาแฟ |
กาแฟ |
กา-แฟ |
กาแฟเย็น |
กาแฟเย็น |
กา-แฟ-เย็น |
กาแฟร้อน |
กาแฟร้อน |
กา-แฟ-ร้อน |
นม |
นม |
นม |
ครีม |
ครีม |
ครีม |
น้ำผลไม้ |
น้ำผลไม้ |
น้ำ-ผน-ละ-ไม้ |
เนื้อหมู |
เนื้อหมู |
เนื้อ-หมู |
ไก่ |
ไก่ |
ไก่ |
ปลา |
ปลา |
ปลา |
เนื้อวัว |
เนื้อวัว |
เนื้อ-วัว |
ผัก |
ผัก |
ผัก |
ผลไม้ |
ผลไม้ |
ผน-ละ-ไม้ |
อร่อย |
อร่อย |
อะ-หร่อย |
ไม่อร่อย |
ไม่อร่อย |
ไม่-อะ-หร่อย |
เผ็ด |
เผ็ด |
เผ็ด |
หวาน |
หวาน |
หวาน |
เปรี้ยว |
เปรี้ยว |
เปรี้ยว |
เค็ม |
เค็ม |
เค็ม |
ก๋วยเตี๋ยว |
ก๋วยเตี๋ยว |
ก๋วย-เตี๋ยว |
น้ำแกง |
น้ำแกง |
น้ำ-แกง |
ของหวาน |
ของหวาน |
ของ-หวาน |
ขนม |
ขนม |
ขะ-หนม |
ไอศครีม |
ไอศครีม |
ไอ-สะ-ครีม |
|
คำศัพท์ |
คำอ่าน |
หนึ่ง |
หนึ่ง |
หนึ่ง |
สอง |
สอง |
สอง |
สาม |
สาม |
สาม |
สี่ |
สี่ |
สี่ |
ห้า |
ห้า |
ห้า |
หก |
หก |
หก |
เจ็ด |
เจ็ด |
เจด |
แปด |
แปด |
แปด |
เก้า |
เก้า |
เก้า |
สิบ |
สิบ |
สิบ |
วัน |
วัน |
วัน |
สัปดาห์ |
สัปดาห์ |
สับ-ดา |
เดือน |
เดือน |
เดือน |
ปี |
ปี |
ปี |
กี่โมงแล้ว |
กี่โมงแล้ว |
กี่-โมง-แล้ว |
ชั่วโมง |
ชั่วโมง |
ชั่ว-โมง |
นาที |
นาที |
นา-ที |
|
|
|
เวลาช่วงเช้า (AM) |
|
|
ตี 1 |
ตี 1 |
ตี-หนึ่ง |
ตี 2 |
ตี 2 |
ตี-สอง |
ตี 3 |
ตี 3 |
ตี-สาม |
ตี 4 |
ตี 4 |
ตี-สี่ |
ตี 5 |
ตี 5 |
ตี-ห้า |
6 โมง |
6 โมง |
หก-โมง |
7 โมง |
7 โมง |
เจด-โมง |
8 โมง |
8 โมง |
แปด-โมง |
9 โมง |
9 โมง |
เก้า-โมง |
10 โมง |
10 โมง |
สิบ-โมง |
11 โมง |
11 โมง |
สิบ-เอด-โมง |
12.00 น. เที่ยง |
12.00 น. / เที่ยง |
สิบ-สอง-นา-ฬิ-กา / เที่ยง |
|
|
|
เวลาช่วงบ่าย (PM) |
|
|
13.00 น. |
บ่ายโมง |
บ่าย-โมง |
14.00 น. |
บ่ายสอง |
บ่าย-สอง |
15.00 น. |
บ่ายสาม |
บ่าย-สาม |
16.00 น |
บ่ายสี่ |
บ่าย-สี่ |
17.00 น |
ห้าโมงเย็น |
ห้า-โมง-เยน |
18.00 น. |
หกโมงเย็น |
หก-โมง-เยน |
19.00 น. |
หนึ่งทุ่ม |
หนึ่ง-ทุ่ม |
20.00 น. |
สองทุ่ม |
สอง-ทุ่ม |
21.00 น. |
สามทุ่ม |
สาม-ทุ่ม |
22.00 น. |
สี่ทุ่ม |
สี่-ทุ่ม |
23.00 น. |
ห้าทุ่ม |
ห้า-ทุ่ม |
24.00 น. |
เที่ยงคืน |
เที่ยง-คืน |
|
คำศัพท์ |
คำอ่าน |
ราคาเท่าไร |
ราคาเท่าไร |
รา-คา-เท่า-ไร |
ลดราคาได้ไหม |
ลดราคาได้ไม่ |
ลด-รา-คา-ได้-ไหม |
เงินทอน |
เงินทอน |
เงิน-ทอน |
เงินสด |
เงินสด |
เงิน-สด |
บัตรเครดิต |
บัตรเครดิต |
บัด-เค-ดิด |
ราคาแพง |
ราคาแพง |
รา-คา-แพง |
ราคาถูก |
ราคาถูก |
รา-คา-ถูก |
ซื้อ |
ซื้อ |
ซื้อ |
ไม่ซื้อ |
ไม่ซื้อ |
ไม่-ซื้อ |
เสื้อผ้า |
เสื้อผ้า |
เสื้อ-ผ้า |
รองเท้า |
รองเท้า |
รอง-เท้า |
เครื่องสำอางค์ |
เครื่องสำอาง |
เครื่อง-สำ-อาง |
ยา |
ยา |
ยา |
เครื่องใช้ไฟฟ้า |
เครื่องใช้ไฟฟ้า |
เครื่อง-ใช้-ไฟ-ฟ้า |
กระเป๋า |
กระเป๋า |
กระ-เป๋า |
กระเป๋าสตางค์ |
กระเป๋าสตางค์ |
กระ-เป๋า-สะ-ตาง์ |
หนังสือเดินทาง |
หนังสือเดินทาง |
หนัง-สือ-เดิน-ทาง |
|
คำศัพท์ |
คำอ่าน |
ห้องน้ำ |
ห้องน้ำ |
ห้อง-น้ำ |
โทรศัพท์ |
โทรศัพท์ |
โท-ระ-สับ |
โทรศัพท์สาธารณะ |
โทรศัพท์สาธารณะ |
โท-ระ-สับ-สา-ทา-ระ-นะ |
บัตรเติมเงิน |
บัตรเติมเงิน |
บัด-เติม-เงิน |
โทรศัพท์มือถือ |
โทรศัพท์มือถือ |
โท-ระ-สับ-มือ-ถือ |
ตู้ ATM |
ตู้ ATM |
ตู้-เอ-ที-เอ็ม |
ผ้าเย็น |
ผ้าเย็น |
ผ้า-เยน |
รองเท้าแตะ |
รองเท้าแตะ |
รอง-เท้า-แตะ |
ผ้าเช็ดตัว |
ผ้าเช็ดตัว |
ผ้า-เชด-ตัว |
ผ้าเช็ดหน้า |
ผ้าเช็ดหน้า |
ผ้า-เชด-หน้า |
กล้องถ่ายรูป |
กล้องถ่ายรูป |
กล้อง-ถ่าย-รูบ |
กล้องวีดีโอ |
กล้องวีดีโอ |
กล้อง-วี-ดี-โอ |
วิทยุ |
วิทยุ |
วิด-ทะ-ยุ |
แปรงสีฟัน |
แปรงสีฟัน |
แปรง-สี-ฟัน |
นาฬิกาปลุก |
นาฬิกาปลุก |
นา-ฬิ-กา-ปลุก |
แก้ว |
แก้ว |
แก้ว |
หมอน |
หมอน |
หมอน |
กระดาษชำระ |
กระดาษชำระ |
กระ-ดาด-ชำ-ระ |
|
|
สกุลเงิน |
บาท |
|
|
ชนิดของเงิน |
|
เหรียญ |
1 บาท |
|
2 บาท |
|
10 บาท |
|
|
ธนบัตร |
20 บาท |
|
50 บาท |
|
100 บาท |
|
500 บาท |
|
1000 บาท |
|
คำศัพท์ |
คำอ่าน |
โรงแรม |
โรงแรม |
โรง-แรม |
โรงภาพยนต์ |
โรงภาพยนต์ |
โรง-พาบ-พะ-ยน |
โรงละคร |
โรงละคร |
โรง-ละ-คอน |
โรงพยาบาล |
โรงพยาบาล |
โรง-พะ-ยา-บาน |
พิพิธภัณฑ์ |
พิพิธภัณฑ์ |
พิ-พิด-ทะ-พัน |
สถานีตำรวจ |
สถานีตำรวจ |
สะ-ถา-นี-ตำ-รวด |
ภัตตาคาร |
ภัตตาคาร |
ภัด-ตา-คาน |
ถนน |
ถนน |
ถะ-หนน |
ร้านค้า |
ร้านค้า |
ร้าน-ค้า |
ห้างสรรพสินค้า |
ห้างสรรพสินค้า |
ห้าง-สับ-พะ-สิน-ค้า |
ร้านขายยา |
ร้านขายยา |
ร้าน-ขาย-ยา |
สวนสาธารณะ |
สวนสาธารณะ |
สวน-สา-ทา-ระ-นะ |
สนามกีฬา |
สนามกีฬา |
สะ-หนาม-กี-ฬา |
สนามบิน |
สนามบิน |
สะ-หนาม-บิน |
สถานีขนส่งสายเหนือ |
สถานีขนส่งสายเหนือ |
สะ-ถา-นี-ขน-ส่ง-สาย-เหนือ |
สถานีขนส่งสายใต้ |
สถานีขนส่งสายใต้ |
สะ-ถา-นี-ขน-ส่ง-สาย-ใต้ |
สถานีขนส่งสายตะวันออก |
สถานีขนส่งสายตะวันออก |
สะ-ถา-นี-ขน-ส่ง-สาย-ตะ-วัน-ออก |
ธนาคาร |
ธนาคาร |
ทะ-นา-คาน |
รถแท็กซี่ |
รถแท็กซี่ |
รด-แท็ก-ซี่ |
รถเมล์ |
รถเมล์ |
รด-เม |
รถไฟฟ้า |
รถไฟฟ้า |
รด-ไฟ-ฟ้า |
รถไฟฟ้าใต้ดิน |
รถไฟฟ้าใต้ดิน |
รด-ไฟ-ฟ้า-ใต้-ดิน |
เรือ |
เรือ |
เรือ |
รถท้วร์ |
รถท้วร์ |
รด-ท้ว |
เครื่องบิน |
เครื่องบิน |
เครื่อง-บิน |
สายการบิน |
สายการบิน |
สาย-กาน-บิน |
รถสามล้อ |
รถสามล้อ |
รด-สาม-ล้อ |
บ้าน |
บ้าน |
บ้าน |
โรงเรียน |
โรงเรียน |
โรง-เรียน |
ตลาด |
ตลาด |
ตะ-หลาด |
ถนน |
ถนน |
ถะ-หนน |
รถยนต์ |
รถยนต์ |
รด-ยน |
|
|
- ชื่อทางการ : สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam)
- ที่ตั้ง : เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออก
- บทความ : ความ SMEs | ความแฟรนไชส์ | ความค้าขาย
|
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam)
ข้อมูลทั่วไป (ข้อมูล ปี 2010)
เมืองหลวง: กรุงฮานอย
พื้นที่: 331,150 ตารางกิโลเมตร
จำนวนประชากร: 85 ล้านคน
ภาษา: เวียดนาม
GDP: 103.1 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ
GDP per capita: 1,168 เหรียญสหรัฐฯ
GDP Growth: ร้อยละ 6
|
ความหมายของธงชาติ
ลักษณะของธงชาติเวียดนามนั้นเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีแดง กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ตรงกลางมีรูปดาวห้าแฉกสีเหลืองทอง สีแดงนั้นหมายถึงการต่อสู้เพื่อกู้เอกราชของชาวเวียดนาม สีเหลืองคือสีของชาวเวียดนาม ส่วนดาวห้าแฉกนั้น เป็นที่เข้าใจกันทั่วไปว่าหมายถึงชนชั้นต่างๆ ในสังคมเวียดนาม คือ นักปราชญ์ ชาวนา ช่างฝีมือ พ่อค้า และทหาร อย่างไรก็ตาม ภายหลังการรวมชาติเวียดนามในปี พ.ศ. 2519 ความหมายในธงได้มีการอธิบายใหม่ในทางการเมืองว่า สีแดงหมายถึงการปฏิวัติโดยชนชั้นกรรมาชีพ และดาวสีทองหมายถึงการชี้นำของพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม
การค้าระหว่างไทย – เวียดนาม (2010)
- มูลค่าการค้าระหว่างประเทศ (ม.ค. - ต.ค.): 5,812.38 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยไทยได้เปรียบดุลการค้า 3,501.41ล้านเหรียญสหรัฐฯ
- สินค้าส่งออกหลักของไทยไปเวียดนาม ได้แก่ น้ำมันสำเร็จรูป เม็ดพลาสติก เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ เคมีภัณฑ์ รถยนต์ อุปกรณ์
และส่วนประกอบ
- สินค้านำเข้าหลักจากเวียดนาม ได้แก่ เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน ด้ายและเส้นใย เครื่องคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องมือเครื่องใช้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
- ตลาดส่งออกที่สำคัญของเวียดนาม ได้แก่ สหรัฐฯ สหภาพยุโรป อาเซียน ญี่ปุ่น จีน
- ตลาดนำเข้าที่สำคัญของเวียดนาม ได้แก่ สิงคโปร์ จีน ไทย ญี่ปุ่น อินเดีย มาเลเซีย
โอกาส
- การเมืองมีเสถียรภาพ จากการปกครองด้วยระบอบสังคมนิยมที่มีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียว ทำให้กำหนดนโยบายและการกำกับดูแลเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ผู้ลงทุนสามารถวางแผนการประกอบธุรกิจและการลงทุนในระยะยาวได้อย่างมั่นใจ
- ค่าจ้างแรงงานต่ำ แม้ว่าต้นทุนแรงงานจะเพิ่มขึ้นมาก แต่เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ แล้วยังนับว่ามีต้นทุนต่ำกว่า และมีแรงงานในวัยหนุ่มสาวจำนวนมาก (ประชากรประมาณ 60 % มีอายุต่ำกว่า 30 ปี) ซึ่งมีการศึกษาดี
- วัตถุดิบและทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ มีพื้นที่ที่เหมาะแก่การทำเกษตรกรรมเป็นจำนวนมากจึงสามารถผลิตผลผลิตทางการเกษตรได้เป็นจำนวนมากในอันดับต้นๆ ของโลก เช่น ข้าว กาแฟ ยางพารา และ พริกไทยดำ
อุปสรรค
- ขาดแคลนผู้บริหารระดับกลาง ขณะที่แรงงานที่เพิ่งจบการศึกษายังขาดทักษะและไม่มีการฝึกอบรม
- ต้นทุนการลงทุนในประเทศเวียดนามสูงกว่ าในประเทศอื่นๆ (จากรายงานการศึกษาบางแห่ง)
- โครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมสนับสนุนยังล้าหลังและไม่เพียงพอ
- อุปสรรคในการนำเข้าจากการใช้มาตรการ Automatic Import Licensing ซึ่งต้องขออนุญาตในการนำเข้าสินค้า (หลายรายการ) ทุกครั้ง ทำให้สินค้าไทยมีต้นทุนจำหน่ายที่ สูงขึ้นและเพิ่มความยุ่งยากทางเอกสารในการนำเข้า
ข้อควรรู้
- หน่วยงานราชการ สำนักงาน และองค์กรให้บริการสาธารณสุข เปิดทำการระหว่างเวลา 08.00 น. – 16.30 น. ตั้งแต่วันจันทร์ – ศุกร์
- เวียดนามไม่อนุญาตให้ถ่ายภาพอาคารที่ทำการต่างๆ ของรัฐ
- หากนำเงินตราต่างประเทศติดตัวเข้ามามากกว่า 7,000 ดอลลาร์สหรัฐ ต้องแจ้งให้ศุลกากรเวียดนามทราบการนำเงินตราออกประเทศมากกว่า 7,000 ดอลลาร์สหรัฐ ต้องได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งชาติหรือธนาคารกลางในท้องถิ่นก่อน มิเช่นนั้นจะถูกยึดเงิน
- บทลงโทษของเวียดนามในคดียาเสพติดการฉ้อโกงหน่วยงานของรัฐมีโทษประหารชีวิต
Link ที่น่าสนใจ
ทักทาย
อาหาร
นับเลข
ช้อปปิ้ง
สกุลเงิน
เดินทาง
ทั่วไป
| คำศัพท์ |
สวัสดี |
ซินจ่าว |
ขอบคุณ |
ก๊าม เอิน |
สบายดีไหม |
แอง/จิ/โอง/บ่าก๊อแขวคง |
ยินดีที่ได้รู้จัก |
เริ๊ดวูยเดือกกัปแอง/จิ... |
พบกันใหม่ |
แหนกัปหลาย |
ลาก่อน |
ต๋ามเบียด |
นอนหลับฝันดี |
จุ๊กหงูงอน |
เชิญ |
จ่าวหมึ่ง |
ใช่ |
เวิง |
ไม่ใช่ |
คง |
อากาศดีจัง |
แด็ปเจิ่ย |
อากาศร้อนมาก |
เจิ่ยหนอง |
อากาศหนาวมาก |
เจิ่อยแหล่ง |
ไม่เป็นไร |
โคงซาวเดิว |
| คำศัพท์ |
อาหารเช้า |
เบื๋อซ้าง |
อาหารกลางวัน |
เบื๋อเจือ |
อาหารเย็น |
โด่อันโต้ย |
อาหารค่ำ |
เบื๋อโต้ย |
ข้าว |
ก๋าว (gao) |
น้ำ |
เนื้อก |
น้าชา |
จ่า |
น้ำแข็ง |
ด๊า |
กาแฟ |
ก่าเฟ |
กาแฟเย็น |
ก่าเฟด๊า |
กาแฟร้อน |
ก่าเฟหนอง |
นม |
เสือ |
ครีม |
แกม |
น้ำผลไม้ |
เนื้อกฮวากว๋า |
เนื้อหมู |
ฐิดเลิ่น |
ไก่ |
ก่า |
ปลา |
ก๊า |
เนื้อวัว |
ฐิตบ่อ |
ผัก |
เรา |
ผลไม้ |
ฮวากว๋า |
อร่อย |
งอน |
ไม่อร่อย |
คงงอน |
เผ็ด |
ไก |
หวาน |
หงอด |
เปรี้ยว |
จัว |
เค็ม |
หมัน |
ก๋วยเตี๋ยว |
หมี่ |
น้ำแกง |
ซุ๊ป |
ของหวาน |
โด่ช้างเหมียง |
ขนม |
โด่หงอด |
ไอศครีม |
แกม |
| คำศัพท์ |
หนึ่ง |
หมด |
สอง |
ฮาย |
สาม |
บา |
สี่ |
โบ๊น |
ห้า |
นัม |
หก |
เซ๊า |
เจ็ด |
ไบ๋ |
แปด |
ต้าม |
เก้า |
ชิ้น |
สิบ |
เหมื่อย |
วัน |
ไหง่ |
สัปดาห์ |
เตวิ่อน |
เดือน |
ท้าง |
ปี |
นัม |
กี่โมงแล้ว |
เบยเหซ่อหล่าเม้ยเหซ่อ |
ชั่วโมง |
เส่อ (เตี้ยง) |
นาที |
ฟุ๊ด |
|
|
เวลาช่วงเช้า (AM) |
ซ้าง |
ตี 1 |
หมดเส่อ |
ตี 2 |
ฮายเส่อ |
ตี 3 |
บาเส่อ |
ตี 4 |
โบ๊นเส่อ |
ตี 5 |
นัมเส่อ |
6 โมง |
เซ้าเส่อ |
7 โมง |
ไบ๋เส่อ |
8 โมง |
ต้ามเส่อ |
9 โมง |
ชิ้นเส่อ |
10 โมง |
เหมื่อยเส่อ |
11 โมง |
เหมื่อยหมดเส่อ |
12.00 น. เที่ยง |
เหมื่อยฮายเส่อ |
|
|
เวลาช่วงบ่าย (PM) |
เจี่ยว |
13.00 น. |
หมดเส่อเจี่ยว |
14.00 น. |
เหมื่อยโบ๊นเส่อ |
15.00 น. |
เหมื่อยนัมเส่อ |
16.00 น. |
เหมื่อยเซ้าเส่อ |
17.00 น. |
เหมื่อยไบ๋เส่อ |
18.00 น. |
เหมื่อยต้ามเส่อ |
|
|
เวลาช่วงค่ำ (PM) |
|
19.00 น. |
เหมื่อยชิ้นเส่อ |
20.00 น. |
ฮายเมือยเหซ่อ |
21.00 น. |
ฮายมดเส่อ |
22.00 น. |
ฮายฮายเส่อ |
23.00 น. |
ฮายบาเส่อ |
24.00 น. |
เสือเดม |
| คำศัพท์ |
ราคาเท่าไร |
ก๊ายไหน่ซ้าบาวเญียว |
ลดราคาได้ไหม |
เบิดเดือกคง |
เงินทอน |
โด๋ย |
เงินสด |
เตี่ยนหมัด |
บัตรเครดิต |
แถ๋ติ้นหญุง |
ราคาแพง |
ดั๊ด |
ราคาถูก |
แหร๋ |
ซื้อ |
มัว |
ไม่ซื้อ |
คงมัว |
เสื้อผ้า |
หวาย |
รองเท้า |
ใหญ่ |
เครื่องสำอางค์ |
โด่ชางเดี๋ยม |
ยา |
ท๊วก |
เครื่องใช้ไฟฟ้า |
เดี๋ยนตื๋อ |
กระเป๋า |
ตุ๊ย |
กระเป๋าสตางค์ |
วี้ |
หนังสือเดินทาง |
โหะเจี้ยว |
| คำศัพท์ |
ห้องน้ำ |
หญ่าเหวะซินห์ |
โทรศัพท์ |
เดี๋ยนทวาย |
โทรศัพท์สาธารณะ |
เดี๋ยนทวายโกงโก๋ง |
บัตรเติมเงิน |
แถ่หนาปเดี่ยน |
โทรศัพท์มือถือ |
เดี๋ยนทวายซีโด๋ง |
ตู้ ATM |
ATM |
ผ้าเย็น |
คันแหลง |
รองเท้าแตะ |
แย้ป |
ผ้าเช้ดตัว |
คันตั้ม |
ผ้าเช็ดหน้า |
คันหมัด |
กล้องถ่ายรูป |
กาเมรา |
กล้องวีดีโอ |
มั้ยกวายฟิม |
|
|
สกุลเงิน |
ด่อง (VND) |
|
|
ชนิดของเงิน |
|
เหรียญ |
เฉียน |
1 บาท |
โด่งซูหมดบาท |
2 บาท |
ฮายบาท |
10 บาท |
เหมื่อยบาท |
|
|
ธนบัตร |
|
20 บาท |
เต่อฮายเมือยบาท |
50 บาท |
นัมเมือยบาท |
100 บาท |
หมดจำบาท |
500 บาท |
นัมจำบาท |
1000 บาท |
หมดหงี่นบาท |
| คำศัพท์ |
โรงแรม |
แค๊กสาน |
โรงภาพยนต์ |
หราปเจี้ยวฟิม |
โรงละคร |
หญ่าฮ๊าต |
โรงพยาบาล |
เบ๋งเหวียน |
พิพิธภัณฑ์ |
บ๋าวต่าง |
สถานีตำรวจ |
โด่นแก๋งซ้าต |
ภัตตาคาร |
หญ่าห่าง |
ถนน |
เดื่อง |
ร้านค้า |
เกื๋อห่าง |
ห้างสรรพสินค้า |
เซียวถิ |
ร้ายขายยา |
เหียวท๊วก |
สวนสาธารณาะ |
กงเวียน |
สนามกีฬา |
เซินเถ๋ทาว |
สนามบิน |
เซินไบ |
สถานีขนส่งสายเหนือ |
จ๋ามแซบิ๊ดเฟี้ยบั๊ก |
สถานีขนส่งสายใต้ |
จ๋ามแซบิ๊ดเฟี้อนาม |
สถานีขนส่งสายตะวันออก |
จ๋ามแซบิ๊ดเฟี้ยดงบั๊ก |
ธนาคาร |
เงินห่าง |
รถแท็กซี่ |
ตั๊กซี |
รถเมล์ |
แซบิ๊ด |
รถไฟฟ้า |
เต่าเดี๋ยนเจนคง |
รถไฟฟ้าใต้ดิน |
โอ๊ง |
เรือ |
เถวี่ยน |
รถท้วร์ |
แซบิ๊ด |
เครื่องบิน |
ไม้ไบ |
สายการบิน |
ห๋างห่างคง |
รถสามล้อ |
แซบาแบ้ง |
|
|
|