1. Cost Leadership Strategy
ตั้งราคาต่ำสุดเพื่อดึงดูดลูกค้าจำนวนมาก เหมาะกับธุรกิจขนาดใหญ่ที่มีกำลังซื้อสูง
- ข้อดี สร้างฐานลูกค้าได้เร็ว
- ข้อเสีย ทำไรต่อหน่วยต่ำ ต้องขายเยอะ
2. Product Set Pricing
ตั้งราคาเป็นชุดเพื่อให้ลูกค้ารู้สึกคุ้มค่า เหมาะกับร้านค้าปลีก ร้านอาหาร
- ข้อดี ช่วยกระตุ้นยอดขาย
- ข้อเสีย ต้องคำนวณต้นทุนอย่างละเอียด
3. Seasonal Pricing
ปรับราคาตามเทศทาลต่างๆ เหมาะกับสินค้าที่เปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล
- ข้อดี สอดคล้องกับอุปสงค์และอุปทาน
- ข้อเสีย ต้องวางแผนผลิต/สต็อกสินค้า
4. The cost of the zero cost
ให้สินค้าฟรีเมื่อซื้อสินค้าชิ้นที่กำหนด เหมาะกับธุรกิจที่ต้องการกระตุ้นยอดขาย
- ข้อดี ช่วยดึงดูดลูกค้าใหม่
- ข้อเสีย กำไรต่อหน่วยลดลง
5. Competitive Pricing
ตั้งราคาใกล้เคียงกับคู่แข่ง เหมาะกับธุรกิจที่มีคู่แข่งจำนวนมาก
- ข้อดี ดึงดูดลูกค้าจากคู่แข่ง
- ข้อเสีย อาจเกิดสงครามราคา
6.Decoy Pricing
สร้างตัวเลือกที่ด้อยกว่าสิ่งที่ต้องการขาย เหมาะกับธุรกิจที่มีสินค้าหลายรุ่น
- ข้อดี เพิ่มอัตราการขายสินค้า
- ข้อเสีย อาจทำให้ลูกค้ารู้สึกไม่ดี
7. Value-Based Pricing
ตั้งราคาตามคุณค่าที่ลูกค้าได้รับ เหมาะกับธุรกิจที่มีสินค้า/บริการซับซ้อน
- ข้อดี สร้างภาพลักษณ์ที่ดี
- ข้อเสีย อาจตั้งราคาสูงไป
ไทยแฟรนไชส์เซ็นเตอร์ รวบรวม ข้อมูล ณ วันที่ 23 ม.ค. 2568