ThaiFranchiseCenter Webboard

ThaiFranchiseCenter Webboard - Info Center

* สมัครสมาชิกเว็บบอร์ด ไทยแฟรนไชส์เซ็นเตอร์ ฟรี! *
หน้าแรก | เปิดร้านค้าฟรี! | โปรโมชั่นแฟรนไชส์ | ร้านหนังสือออนไลน์ | สนใจลงโฆษณา

ทางเว็บไซต์ ThaiFranchiseCenter.com ไม่มีส่วนรับผิดชอบกับข้อความต่างๆในเว็บบอร์ดแต่อย่างใด
    ไม่ว่าจะเป็นการซื้อ-ขาย-เช่า-เซ้ง หรือ อื่นๆ (ผู้ซื้อ หรือ ผู้ขาย กรุณาใช้วิจารณญาณในการติดต่อทางธุรกิจ)


เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

ลวดหนาม มีกี่ประเภท

ลวดหนามมี 2 แบบ
ลวดหนาม ที่เราพอจะนึกออกและเคยเห็น มีอยู่ 2 ประเภทที่เห็นได้ชัดๆ คือ

ลวดหนามล้อมบ้านทั่วไป
ลวดหนามหีบเพลง
1. ลวดหนามล้อมบ้านทั่วไป
ลวดหนามประเภทนี้ก็คือลวดหนามล้อมที่ดิน ล้อมบ้าน ล้อมส้วน ล้อมที่ดินทั่วไปของเรานั่นเอง โดยมากจะแบ่ง ตามลักษณะของปมหนาม หรือ รูปแบบวิธี หรือ คุณภาพการพันนั่นเอง

  1.1 ลักษณะของหนามปมลวดหนาม
ลวดหนามในปัจจุบัน มีรูปแบบการพันปมหนามอยู่ 2 แบบ คือ

1.1.1 การพันเกลียวหนามแบบธรรมดา (Conventional)
เป็นการพันเกลียวลวดหนามแบบเก่า มีโอกาสที่หนามจะหลุด หรือเกลียวหนามอาจคลายได้ในส่วนของตัวเส้นลวดจะมีการพันเกลียวแบบหลวมๆ ไม่แน่น มีโอกาสที่ติดตั้งแล้วจะทำให้ลวดหนามหย่อนในอนาคต ตัวอย่างมีให้เห็นตามทั่วไป (ตามรูปด้านล่าง)
ลวดหนามทั่วไป

ลวดหนามประเภทนี้เราผมเห็นกันได้มากตามพื้นที่ทั่วไป เส้นลวดมักมีขนาดใหญ่ เมื่อเทียบกับลวดหนามประเภทอื่น แต่ค่อนข้างหาซื้อได้ง่าย ซึ่งมีข้อดีคือเป็นลวดหนามที่ราคาถูก มักขายเป็น ชั่งกิโลขาย ข้อเสียหนึ่ง คือเมื่อเป็นการชั่งกิโลขาย 5 กิโลบ้าง 10 กิโลบ้างจะ
 ทำให้ความยาวลวดแต่ละม้วน จะไม่เท่ากันเป็นเหตุผลให้การทำงานยากมากขึ้น เนื่องจากการที่ต้องทำการต่อลวดหลายรอบ

อีกหนึ่งปัญหาที่พบเจอกับการล้อมรั้วลวดหนามคือ ขึ้นสนิมง่าย เพราะลวดหนามทั่วไป จะเป็นการชุบแบบไฟฟ้า (Electroplating) ซึ่งการชุบซิงค์แบบนี้ปริมาณซิงค์ที่ชุบค่อนข้างที่บางมาก ๆ ทำให้อายุการใช้งานของลวดหนามทั่วไปเกิดสนิมเร็ว ประมาณ 6 เดือน – 1 ปี
เริ่มขึ้นสนิมแล้ว หรือจะเป็นปัญหาล้อมรั้วลวดหนามทั่วไปจะขาดง่าย  ขึงไม่ตึง หย่อน  รวมถึงตัวเกลียวหนาม ที่ถักมาไม่แน่นทำให้เป็นสาเหตุของลวดหนามไม่ตึง และหย่อนง่าย ซึ่งถ้าสังเกตการล้อมรั้วลวดหนามทั่วไปที่ติดตั้งตามท้องตลาด ติดตั้งไปได้ 1-2 เดือน รั้วลวดหนามทั่วไปจะเริ่มหย่อนเป็นท้องช้าง ไม่สวยงาม
หรือเห็นรั้วลวดหนามขาดเป็นบางช่วง  ทำให้เปลืองงบประมาณในการซื้อลวดหนามมาติดตั้งใหม่ เสียทั้งเวลา เสียทั้งค่าแรง

ลวดหนาม
รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย
ลวดหนามกันสนิม

เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

**เลี้ยงปลากัด ปลาสวยงามที่เลี้ยงง่าย เลี้ยงสนุก**

ปลากัดเป็นปลาสวยงามที่ได้รับความนิยมมาอย่างยาวนาน ด้วยความที่เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนทานต่อสภาพอากาศ และมีความดุดัน ทำให้ปลากัดเป็นที่นิยมทั้งในกลุ่มผู้เลี้ยงปลาสวยงามและกลุ่มผู้เลี้ยงปลากัดเพื่อแข่งขัน

**วิธีการเลี้ยงปลากัด**

การเลี้ยงปลากัดสามารถทำได้ง่าย ๆ ดังนี้

* **การเตรียมอุปกรณ์**

อุปกรณ์ที่จำเป็นในการเลี้ยงปลากัด ได้แก่

    * โหลแก้วหรือตู้ปลา
    * หินกรวดหรือวัสดุรองพื้น
    * ปั๊มน้ำ
    * เครื่องกรองน้ำ
    * เครื่องปรับอุณหภูมิ (หากต้องการ)

* **การเตรียมน้ำ**

น้ำที่ใช้เลี้ยงปลากัดควรสะอาด มีอุณหภูมิประมาณ 25-28 องศาเซลเซียส ควรเปลี่ยนน้ำทุกสัปดาห์ หรือเมื่อน้ำเริ่มมีตะกอน

* **การให้อาหาร**

ปลากัดเป็นปลากินเนื้อ ควรให้อาหารปลากัดเป็นอาหารสด เช่น ลูกน้ำ ไรแดง หรืออาหารเม็ดสำเร็จรูปสำหรับปลากัด

* **การดูแลรักษา**

ควรหมั่นตรวจดูปลากัดเป็นประจำ หากพบอาการผิดปกติควรรีบรักษาทันที

**ปัจจัยสำคัญในการเลี้ยงปลากัด**

ปัจจัยสำคัญในการเลี้ยงปลากัด ได้แก่

* **น้ำ** น้ำที่ใช้เลี้ยงปลากัดควรสะอาด มีอุณหภูมิที่เหมาะสม
* **อาหาร** ควรให้อาหารปลากัดอย่างเพียงพอและสม่ำเสมอ
* **สภาพแวดล้อม** ควรวางโหลแก้วหรือตู้ปลาไว้ในที่ที่มีแสงแดดส่องถึง
* **โรคและศัตรูพืช** ควรหมั่นตรวจดูปลากัดเป็นประจำ เพื่อป้องกันการระบาดของโรคและศัตรูพืช

**ข้อดีของการเลี้ยงปลากัด**

การเลี้ยงปลากัดมีข้อดีหลายประการ ดังนี้

* **เป็นกิจกรรมที่ผ่อนคลาย**
* **เป็นกิจกรรมที่เสริมสร้างความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับสัตว์**
* **เป็นกิจกรรมที่สามารถสร้างรายได้เสริม**

**สรุป**

การเลี้ยงปลากัดเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ง่าย ๆ เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการเลี้ยงสัตว์เลี้ยง ผู้ที่สนใจสามารถศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการเลี้ยงปลากัดเพิ่มเติม เพื่อนำไปเลี้ยงปลากัดให้สวยงามและแข็งแรง
โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม
ตาข่ายถักรั้วตาข่าย
รั้วแรงดึง

ลวดหนาม มีกี่ประเภท

ลวดหนามมี 2 แบบ
ลวดหนาม ที่เราพอจะนึกออกและเคยเห็น มีอยู่ 2 ประเภทที่เห็นได้ชัดๆ คือ

ลวดหนามล้อมบ้านทั่วไป
ลวดหนามหีบเพลง
1. ลวดหนามล้อมบ้านทั่วไป
ลวดหนามประเภทนี้ก็คือลวดหนามล้อมที่ดิน ล้อมบ้าน ล้อมส้วน ล้อมที่ดินทั่วไปของเรานั่นเอง โดยมากจะแบ่ง ตามลักษณะของปมหนาม หรือ รูปแบบวิธี หรือ คุณภาพการพันนั่นเอง

  1.1 ลักษณะของหนามปมลวดหนาม
ลวดหนามในปัจจุบัน มีรูปแบบการพันปมหนามอยู่ 2 แบบ คือ

1.1.1 การพันเกลียวหนามแบบธรรมดา (Conventional)
เป็นการพันเกลียวลวดหนามแบบเก่า มีโอกาสที่หนามจะหลุด หรือเกลียวหนามอาจคลายได้ในส่วนของตัวเส้นลวดจะมีการพันเกลียวแบบหลวมๆ ไม่แน่น มีโอกาสที่ติดตั้งแล้วจะทำให้ลวดหนามหย่อนในอนาคต ตัวอย่างมีให้เห็นตามทั่วไป (ตามรูปด้านล่าง)
ลวดหนามทั่วไป

ลวดหนามประเภทนี้เราผมเห็นกันได้มากตามพื้นที่ทั่วไป เส้นลวดมักมีขนาดใหญ่ เมื่อเทียบกับลวดหนามประเภทอื่น แต่ค่อนข้างหาซื้อได้ง่าย ซึ่งมีข้อดีคือเป็นลวดหนามที่ราคาถูก มักขายเป็น ชั่งกิโลขาย ข้อเสียหนึ่ง คือเมื่อเป็นการชั่งกิโลขาย 5 กิโลบ้าง 10 กิโลบ้างจะ
 ทำให้ความยาวลวดแต่ละม้วน จะไม่เท่ากันเป็นเหตุผลให้การทำงานยากมากขึ้น เนื่องจากการที่ต้องทำการต่อลวดหลายรอบ

อีกหนึ่งปัญหาที่พบเจอกับการล้อมรั้วลวดหนามคือ ขึ้นสนิมง่าย เพราะลวดหนามทั่วไป จะเป็นการชุบแบบไฟฟ้า (Electroplating) ซึ่งการชุบซิงค์แบบนี้ปริมาณซิงค์ที่ชุบค่อนข้างที่บางมาก ๆ ทำให้อายุการใช้งานของลวดหนามทั่วไปเกิดสนิมเร็ว ประมาณ 6 เดือน – 1 ปี
เริ่มขึ้นสนิมแล้ว หรือจะเป็นปัญหาล้อมรั้วลวดหนามทั่วไปจะขาดง่าย  ขึงไม่ตึง หย่อน  รวมถึงตัวเกลียวหนาม ที่ถักมาไม่แน่นทำให้เป็นสาเหตุของลวดหนามไม่ตึง และหย่อนง่าย ซึ่งถ้าสังเกตการล้อมรั้วลวดหนามทั่วไปที่ติดตั้งตามท้องตลาด ติดตั้งไปได้ 1-2 เดือน รั้วลวดหนามทั่วไปจะเริ่มหย่อนเป็นท้องช้าง ไม่สวยงาม
หรือเห็นรั้วลวดหนามขาดเป็นบางช่วง  ทำให้เปลืองงบประมาณในการซื้อลวดหนามมาติดตั้งใหม่ เสียทั้งเวลา เสียทั้งค่าแรง

ลวดหนาม
รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย
ลวดหนามกันสนิม

ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?


ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518


ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป

ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/

ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?


ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518


ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป

ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/

เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

ปลูกป่า คืนความอุดมสมบูรณ์ให้กับผืนดิน

การปลูกป่าเป็นกิจกรรมที่มีความสำคัญต่อการรักษาสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศของโลก ต้นไม้เป็นสิ่งมีชีวิตที่ช่วยดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และผลิตออกซิเจนให้กับโลก อีกทั้งยังช่วยรักษาความชุ่มชื้นของดินและป้องกันการกัดเซาะดิน นอกจากนี้ ต้นไม้ยังเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่านานาชนิดอีกด้วย

ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าลดลงอย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมา สาเหตุหลักมาจากการตัดไม้ทำลายป่าเพื่อการเกษตร อุตสาหกรรม และที่อยู่อาศัย ส่งผลให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติต่างๆ ตามมามากมาย เช่น ปัญหาฝุ่นละออง PM 2.5 ปัญหาอุทกภัย และปัญหาภัยแล้ง

การปลูกป่าจึงเป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติต่างๆ ที่เกิดขึ้น การปลูกป่าสามารถช่วยฟื้นฟูพื้นที่ป่าที่เสียหายให้กลับคืนสู่สภาพเดิมได้ อีกทั้งยังช่วยเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับโลกอีกด้วย

ประโยชน์ของการปลูกป่า

การปลูกป่ามีประโยชน์มากมายต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศของโลก ดังนี้

ช่วยดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และผลิตออกซิเจนให้กับโลก
ช่วยรักษาความชุ่มชื้นของดินและป้องกันการกัดเซาะดิน
ช่วยรักษาสมดุลของวัฏจักรน้ำ
ช่วยเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่านานาชนิด
ช่วยป้องกันน้ำท่วมและดินถล่ม
ช่วยเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับโลก
วิธีการปลูกป่า

การปลูกป่าสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้

การปลูกป่าด้วยเมล็ด
การปลูกป่าด้วยกล้าไม้
การปลูกป่าด้วยกิ่งตอนหรือทาบกิ่ง
การปลูกป่าด้วยวิธีการขุดหลุมปลูก
การปลูกป่าด้วยวิธีการปลูกแบบถาวร
การเลือกวิธีการปลูกป่าที่เหมาะสมนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น สภาพภูมิประเทศ สภาพดิน ชนิดของต้นไม้ และเป้าหมายของการปลูกป่า

การปลูกป่า สามารถทำได้ทุกคน

การปลูกป่าเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ทุกคน ไม่จำกัดเพศ อายุ หรือฐานะ เราสามารถมีส่วนร่วมในการปลูกป่าได้ดังนี้

เข้าร่วมกิจกรรมปลูกป่าที่จัดโดยหน่วยงานต่างๆ
ปลูกป่าด้วยตัวเองที่บ้านหรือในบริเวณใกล้เคียง
บริจาคเงินเพื่อสนับสนุนโครงการปลูกป่า
การปลูกป่าเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศของโลก ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในการปลูกป่าได้ เพื่อคืนความอุดมสมบูรณ์ให้กับผืนดินและสร้างโลกที่ยั่งยืนให้กับคนรุ่นต่อไป

โปรโมชั่นสำหรับคุณลวดหนาม ตาข่ายถัก
รั้วตาข่าย รั้วแรงดึง

ทำไมที่ดินถึงมีราคาสูงขึ้น



ที่ดินแปลงหนึ่งมีแค่ที่เดียว
นี่เรียกว่าเป็นจุดเด่นของที่ดินเลยก็ว่าได้ ที่ดินหนึ่งแห่งนั้นมีคุณสมบัติเฉพาะในตัวมันเอง และมีเพียงชิ้นเดียว ไม่สามารถผลิตเพิ่มได้ หากอยากได้มาครอบครองก็ต้องซื้อต่อสถานเดียวครับ

จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น
เมื่อประชากรมีจำนวนมากขึ้น ความต้องการด้านที่อยู่อาศัยก็เพิ่มขึ้น ยิ่งในปัจจุบันคนต้องการมีพื้นที่ส่วนตัว และต้องการมีครอบครัวเดี่ยวด้วยแล้ว ราคาที่ดินจึงลดลงได้ยาก เมื่อ Demand กับ Supply มาเจอกัน ราคาที่ดินย่อมดีดตัวสูงขึ้น เนื่องจากทรัพยากรมีจำกัดนั่นเองครับ

ความเจริญของเมือง
แน่นอนว่าเมื่อสังคมเมืองมีการขยายตัว มีห้างสรรพสินค้า รถไฟฟ้า และการขนส่งสาธารณะที่สะดวกสบาย ราคาที่ดินในละแวกนั้นย่อมสูงขึ้นตามไปด้วย ยิ่งใกล้สถานที่ที่เป็นทำเลทองมากเท่าไร แปลว่าคนที่อาศัยอยู่บนที่ดินนั้นจะสะดวกสบายในการใช้ชีวิตมากขึ้น ดังนั้น ที่ดินบริเวณนั้นจึงแพงและมิอาจประเมินราคาที่ดินได้เลย ส่วนมากคนที่ซื้อต่อจึงเป็นบริษัทอสังหาริมทรัพย์นั่นเอง

เงินเฟ้อ
ถึงแม้ว่ามูลค่าที่ดินจะเท่าเดิม หรือหยุดนิ่งไปบ้าง แต่ถ้าเกิดปัญหาเงินเฟ้อ ราคาที่ดินย่อมมีราคาสูงขึ้นตามไปด้วย ตามเศรษฐกิจโดยรวมนั่นเองครับ

ข้อสังเกต
อีกสิ่งหนึ่งที่ทำให้ราคาที่ดินมีราคาสูงขึ้นกว่ามูลค่าของมัน เป็นเพราะช่วงภาวะฟองสบู่ สังคมหันมาลงทุนซื้อที่ดิน สร้างอสังหาฯ เพื่อเก็งกำไร ซึ่งราคาที่ดินที่สูงเกินความเป็นจริง จริงๆ แล้วได้ผสมรวมกำไรที่คาดหวังในอนาคตด้วย ดังนั้น หากมีผู้ซื้อเพื่อเอาไว้ลงทุนในอนาคตมากเท่าไร ราคาที่ดินก็ยิ่งแพงหูฉี่มากเท่านั้นครับ
แต่ถ้าฟองสบู่แตก มูลค่าผสมรวมกำไรที่คาดหวังในอนาคตก็จะลดลงไปด้วย ราคาที่ดินก็อาจจะลดลงเท่ากับมูลค่าที่แท้จริงของมันครับ
ลวดหนาม
รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย
ลวดหนามกันสนิม

ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?


ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518


ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป

ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/

เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

**ปลูกมะม่วงเบา**

มะม่วงเบาเป็นผลไม้ที่มีรสชาติเปรี้ยวอมหวาน นิยมนำมารับประทานสด ใส่ยำ ใส่น้ำพริก หรือทำเป็นมะม่วงเบาแช่อิ่ม มะม่วงเบามีถิ่นกำเนิดในภาคใต้ของประเทศไทย ปลูกได้ดีในสภาพอากาศร้อนชื้น

**การเตรียมพื้นที่ปลูก**

การเตรียมพื้นที่ปลูกมะม่วงเบา มีดังนี้

* เลือกพื้นที่ที่มีแดดส่องถึงอย่างน้อย 6 ชั่วโมงต่อวัน
* ปรับพื้นที่ให้เรียบเสมอกัน
* ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักเพื่อบำรุงดิน
* ทำร่องหรือหลุมสำหรับปลูกมะม่วงเบา ระยะห่างระหว่างต้น 5-6 เมตร ระยะห่างระหว่างแถว 6-7 เมตร

**การเลือกพันธุ์มะม่วงเบา**

พันธุ์มะม่วงเบาที่นิยมปลูก ได้แก่

* พันธุ์เบาปราณบุรี
* พันธุ์เบานครปฐม
* พันธุ์เบาสุราษฎร์ธานี
* พันธุ์เบาสงขลา

**วิธีการปลูกมะม่วงเบา**

การปลูกมะม่วงเบามี 2 วิธี คือ

* **การปลูกมะม่วงเบาด้วยเมล็ด**

นำเมล็ดมะม่วงเบาที่แก่จัดมาเพาะในถุงเพาะชำ ใช้เวลาเพาะประมาณ 3-4 เดือน เมื่อต้นกล้ามีความสูงประมาณ 20-30 เซนติเมตร จึงย้ายปลูกลงแปลง

* **การปลูกมะม่วงเบาด้วยต้นกล้า**

เลือกต้นกล้ามะม่วงเบาที่มีอายุประมาณ 6-12 เดือน ต้นกล้ามีความสูงประมาณ 20-30 เซนติเมตร ปลูกลงแปลงตามระยะห่างที่กำหนด

**การดูแลรักษามะม่วงเบา**

การดูแลรักษามะม่วงเบา มีดังนี้

* **การให้น้ำ**

รดน้ำมะม่วงเบาอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะในช่วงฤดูร้อน

* **การให้ปุ๋ย**

ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักปีละ 2 ครั้ง ครั้งแรกในช่วงต้นฤดูฝน ครั้งที่สองในช่วงปลายฤดูฝน

* **การตัดแต่งกิ่ง**

ตัดแต่งกิ่งมะม่วงเบาปีละ 1 ครั้ง ในช่วงฤดูหนาว

* **การป้องกันศัตรูพืชและโรคพืช**

หมั่นตรวจดูมะม่วงเบาเป็นประจำ หากพบศัตรูพืชหรือโรคพืช ให้ใช้สารเคมีป้องกันกำจัดตามคำแนะนำ

**การเก็บเกี่ยวมะม่วงเบา**

มะม่วงเบาจะเริ่มออกดอกในช่วงฤดูหนาว ผลมะม่วงเบาจะสุกในช่วงฤดูร้อน มะม่วงเบาสุกจะมีเปลือกเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอมเขียว ผลมะม่วงเบาจะรับประทานได้สดหรือนำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้

**เคล็ดลับการปลูกมะม่วงเบาให้ได้ผลดี**

* เลือกพันธุ์มะม่วงเบาที่ทนทานต่อสภาพอากาศและศัตรูพืช

* ใส่ปุ๋ยบำรุงดินอย่างสม่ำเสมอ

* รดน้ำอย่างสม่ำเสมอ แต่อย่ารดน้ำมากเกินไป

* ตัดแต่งกิ่งอย่างสม่ำเสมอ

* หมั่นตรวจดูมะม่วงเบาเป็นประจำ หากพบศัตรูพืชหรือโรคพืช ให้ใช้สารเคมีป้องกันกำจัดตามคำแนะนำ

การปลูกมะม่วงเบาเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ไม่ยาก มะม่วงเบาเป็นผลไม้ที่มีประโยชน์และรับประทานได้หลากหลาย การปลูกมะม่วงเบานอกจากจะได้มะม่วงเบาที่รับประทานสดแล้ว ยังช่วยเสริมสร้างรายได้อีกด้วย
โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย ลวดหนาม

ทำไมที่ดินถึงมีราคาสูงขึ้น



ที่ดินแปลงหนึ่งมีแค่ที่เดียว
นี่เรียกว่าเป็นจุดเด่นของที่ดินเลยก็ว่าได้ ที่ดินหนึ่งแห่งนั้นมีคุณสมบัติเฉพาะในตัวมันเอง และมีเพียงชิ้นเดียว ไม่สามารถผลิตเพิ่มได้ หากอยากได้มาครอบครองก็ต้องซื้อต่อสถานเดียวครับ

จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น
เมื่อประชากรมีจำนวนมากขึ้น ความต้องการด้านที่อยู่อาศัยก็เพิ่มขึ้น ยิ่งในปัจจุบันคนต้องการมีพื้นที่ส่วนตัว และต้องการมีครอบครัวเดี่ยวด้วยแล้ว ราคาที่ดินจึงลดลงได้ยาก เมื่อ Demand กับ Supply มาเจอกัน ราคาที่ดินย่อมดีดตัวสูงขึ้น เนื่องจากทรัพยากรมีจำกัดนั่นเองครับ

ความเจริญของเมือง
แน่นอนว่าเมื่อสังคมเมืองมีการขยายตัว มีห้างสรรพสินค้า รถไฟฟ้า และการขนส่งสาธารณะที่สะดวกสบาย ราคาที่ดินในละแวกนั้นย่อมสูงขึ้นตามไปด้วย ยิ่งใกล้สถานที่ที่เป็นทำเลทองมากเท่าไร แปลว่าคนที่อาศัยอยู่บนที่ดินนั้นจะสะดวกสบายในการใช้ชีวิตมากขึ้น ดังนั้น ที่ดินบริเวณนั้นจึงแพงและมิอาจประเมินราคาที่ดินได้เลย ส่วนมากคนที่ซื้อต่อจึงเป็นบริษัทอสังหาริมทรัพย์นั่นเอง

เงินเฟ้อ
ถึงแม้ว่ามูลค่าที่ดินจะเท่าเดิม หรือหยุดนิ่งไปบ้าง แต่ถ้าเกิดปัญหาเงินเฟ้อ ราคาที่ดินย่อมมีราคาสูงขึ้นตามไปด้วย ตามเศรษฐกิจโดยรวมนั่นเองครับ

ข้อสังเกต
อีกสิ่งหนึ่งที่ทำให้ราคาที่ดินมีราคาสูงขึ้นกว่ามูลค่าของมัน เป็นเพราะช่วงภาวะฟองสบู่ สังคมหันมาลงทุนซื้อที่ดิน สร้างอสังหาฯ เพื่อเก็งกำไร ซึ่งราคาที่ดินที่สูงเกินความเป็นจริง จริงๆ แล้วได้ผสมรวมกำไรที่คาดหวังในอนาคตด้วย ดังนั้น หากมีผู้ซื้อเพื่อเอาไว้ลงทุนในอนาคตมากเท่าไร ราคาที่ดินก็ยิ่งแพงหูฉี่มากเท่านั้นครับ
แต่ถ้าฟองสบู่แตก มูลค่าผสมรวมกำไรที่คาดหวังในอนาคตก็จะลดลงไปด้วย ราคาที่ดินก็อาจจะลดลงเท่ากับมูลค่าที่แท้จริงของมันครับ
ลวดหนาม
รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย
ลวดหนามกันสนิม

ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?


ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518


ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป

ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/

เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

การปลูกผักสวนครัว

การปลูกผักสวนครัวเป็นกิจกรรมที่ได้รับความนิยมมากขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่ช่วยลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน ช่วยให้มีผักสด ๆ รับประทานเอง และยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยลดมลภาวะอีกด้วย

การปลูกผักสวนครัวสามารถทำได้หลากหลายวิธี ขึ้นอยู่กับพื้นที่และงบประมาณที่มี หากมีพื้นที่จำกัด การปลูกผักสวนครัวในกระถางหรือภาชนะขนาดเล็กก็เป็นทางเลือกที่ดี แต่หากมีพื้นที่เพียงพอ การปลูกผักสวนครัวในแปลงดินก็เป็นทางเลือกที่ดีกว่า เพราะสามารถปลูกผักได้หลากหลายชนิดและปริมาณมากขึ้น

ขั้นตอนการปลูกผักสวนครัว

เลือกพื้นที่ที่เหมาะสม พื้นที่สำหรับปลูกผักสวนครัวควรมีแสงแดดส่องถึงอย่างน้อย 6 ชั่วโมงต่อวัน หากเป็นการปลูกผักสวนครัวในกระถางหรือภาชนะขนาดเล็ก ควรวางกระถางหรือภาชนะไว้ในบริเวณที่มีแสงแดดส่องถึง
ปลูกผักสวนครัวในกระถาง
ปลูกผักสวนครัวในกระถาง
เตรียมดินให้เหมาะสม ดินสำหรับปลูกผักสวนครัวควรมีอินทรียวัตถุสูง ระบายน้ำได้ดี ดินร่วนปนทรายหรือดินร่วนเหนียวเป็นดินที่เหมาะสมสำหรับปลูกผักสวนครัว หากดินมีสภาพไม่ดี ควรปรับปรุงดินโดยการใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักก่อนปลูกผัก
เลือกเมล็ดพันธุ์หรือต้นกล้า เมล็ดพันธุ์และต้นกล้าเป็นปัจจัยสำคัญในการปลูกผักสวนครัว ควรเลือกเมล็ดพันธุ์หรือต้นกล้าที่มีคุณภาพ แข็งแรง ปลอดโรค
ปลูกผัก การปลูกผักสามารถทำได้หลากหลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดของผัก การปลูกผักในแปลงดินสามารถทำได้โดยการขุดหลุมปลูกให้มีขนาดเหมาะสมกับขนาดของผักที่ต้องการปลูก จากนั้นใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักลงไปในหลุมเล็กน้อย แล้วนำผักลงปลูก รดน้ำให้ชุ่ม
ดูแลรักษา การดูแลรักษาผักสวนครัวที่สำคัญ ได้แก่ การรดน้ำ ใส่ปุ๋ย และกำจัดวัชพืช
การให้น้ำ ผักสวนครัวต้องการน้ำอย่างสม่ำเสมอ โดยควรให้น้ำอย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง หากอากาศร้อนจัด ควรให้น้ำ 2-3 ครั้งต่อวัน

การใส่ปุ๋ย ผักสวนครัวต้องการปุ๋ยเพื่อเจริญเติบโต ควรใส่ปุ๋ยบำรุงดินอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ปุ๋ยที่เหมาะสมสำหรับปลูกผักสวนครัว ได้แก่ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก และปุ๋ยเคมี

การกำจัดวัชพืช วัชพืชเป็นศัตรูพืชที่สำคัญของผักสวนครัว ควรกำจัดวัชพืชเป็นประจำ โดยถอนวัชพืชออกให้หมด

การใส่ปุ๋ยบำรุงดิน ปุ๋ยที่เหมาะสมสำหรับปลูกผักสวนครัว ได้แก่ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก และปุ๋ยเคมี

การเก็บเกี่ยว ผักสวนครัวพร้อมเก็บเกี่ยวเมื่อเจริญเติบโตเต็มที่ ผักแต่ละชนิดจะมีระยะเวลาการเก็บเกี่ยวที่แตกต่างกัน ควรสังเกตลักษณะของผักแต่ละชนิดเพื่อกำหนดเวลาเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม

ข้อควรระวังในการปลูกผักสวนครัว

ควรเลือกพื้นที่ปลูกผักที่ปลอดภัยจากสัตว์เลี้ยง สัตว์ต่างถิ่น หรือบุคคลที่ไม่ประสงค์ดี
ควรหมั่นตรวจดูผักสวนครัวเป็นประจำเพื่อสังเกตปัญหาศัตรูพืชและโรคพืช
หากพบปัญหาศัตรูพืชหรือโรคพืช ควรรีบแก้ไขโดยเร็ว
การปลูกผักสวนครัวเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ไม่ยาก เพียงแค่ปฏิบัติตามขั้นตอนและข้อควรระวังข้างต้น ก็สามารถปลูกผักสวนครัวได้สำเร็จและได้ผักสด ๆ รับประทานเอง

โปรโมชั่นสำหรับคุณลวดหนาม ตาข่ายถัก
รั้วตาข่าย รั้วแรงดึง


**ดูแลสวนหลังบ้านให้สวยงามอยู่เสมอ**

สวนหลังบ้านเป็นพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจและเพิ่มความสวยงามให้กับบ้าน การดูแลสวนหลังบ้านให้สวยงามอยู่เสมอจึงเป็นเรื่องสำคัญ สามารถทำได้ง่ายๆ ดังนี้

**1. รู้จักเครื่องมือและเลือกใช้ให้เหมาะสม**

เครื่องมือสำหรับดูแลสวนหลังบ้านมีหลายชนิด เช่น กรรไกรตัดแต่งกิ่ง จอบและเสียม ถังรดน้ำ เป็นต้น ควรเลือกเครื่องมือให้เหมาะสมกับงานที่ต้องการทำ เช่น กรรไกรตัดแต่งกิ่งสำหรับตัดแต่งกิ่งไม้ จอบและเสียมสำหรับพรวนดิน ถังรดน้ำสำหรับรดน้ำต้นไม้ เป็นต้น

**2. รดน้ำต้นไม้อย่างสม่ำเสมอ**

ปริมาณน้ำที่ต้นไม้ต้องการขึ้นอยู่กับชนิดของต้นไม้ สภาพอากาศ และขนาดของต้นไม้ โดยทั่วไปควรรดน้ำต้นไม้วันละ 1-2 ครั้ง ในช่วงเช้าหรือเย็น

**3. ใส่ปุ๋ยบำรุงต้นไม้**

ปุ๋ยช่วยบำรุงต้นไม้ให้เจริญเติบโตและแข็งแรง ควรใส่ปุ๋ยให้ต้นไม้อย่างน้อยเดือนละครั้ง เลือกใช้ปุ๋ยให้เหมาะสมกับชนิดของต้นไม้

**4. ตัดแต่งกิ่งไม้อย่างสม่ำเสมอ**

การตัดแต่งกิ่งไม้ช่วยให้ต้นไม้เจริญเติบโตอย่างสมดุล ตัดแต่งกิ่งไม้ที่เป็นโรคหรือแห้งตายออก และตัดแต่งกิ่งไม้ให้อยู่ในรูปทรงที่ต้องการ

**5. กำจัดวัชพืช**

วัชพืชแย่งสารอาหารและน้ำจากต้นไม้ ควรกำจัดวัชพืชอย่างสม่ำเสมอ โดยใช้มือถอนหรือใช้เครื่องตัดหญ้า

**6. ทำความสะอาดสวนหลังบ้าน**

ทำความสะอาดสวนหลังบ้านเป็นประจำ เก็บกวาดเศษใบไม้และเศษขยะต่างๆ ออก เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งสะสมของโรคและแมลง

**7. ป้องกันโรคและแมลง**

โรคและแมลงเป็นศัตรูของต้นไม้ ควรหมั่นสังเกตต้นไม้ หากพบโรคและแมลงควรรีบกำจัดให้ทันเวลา

**8. ตกแต่งสวนหลังบ้าน**

การตกแต่งสวนหลังบ้านช่วยให้สวนหลังบ้านสวยงามและน่าพักผ่อน สามารถเลือกตกแต่งสวนหลังบ้านได้ตามสไตล์ที่ชอบ เช่น ตกแต่งด้วยไม้ดอกไม้ประดับ ปูสนามหญ้า ติดตั้งอุปกรณ์สำหรับนั่งพักผ่อน เป็นต้น

การดูแลสวนหลังบ้านให้สวยงามอยู่เสมอไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแค่ใส่ใจและดูแลอย่างสม่ำเสมอ สวนหลังบ้านก็จะเป็นพื้นที่พักผ่อนหย่อนใจและเพิ่มความสวยงามให้กับบ้าน

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนามรั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย
ลวดหนามกันสนิม

ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?


ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518


ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป

ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/

เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

แผ่น Metal Deck หรือ Steel Deck คืออะไร
มาทำความรู้จักกับแผ่นพื้นเหล็กที่ใช้สำหรับงานพื้นกัน หลายคนอาจเคยได้ยิน Metal Deck, Steel Deck หรือบางทีใช้คำว่า Composite Steel Deck ถ้าเป็นคำไทยก็อาจจะเรียกว่าแผ่นสำเร็จรูปพื้นลอนเหล็ก ไม่ว่าจะเรียกว่าอะไรก็ตาม ความหมายก็คือแผ่นที่ใช้สำหรับงานพื้นโดยเฉพาะ


งานพื้น หรือพื้นที่เรากำลังยืนหรือนั่งอยู่ตอนนี้ คือ หนึ่งในโครงสร้างพื้นฐานของอาคาร ที่ทำหน้าที่รับน้ำหนักบรรทุกที่เกิดขึ้นภายในอาคาร (น้ำหนักบรรทุกจร และน้ำหนักบรรทุกคงที่) พื้นเป็นโครงสร้างตามแนวราบของอาคาร ซึ่งรับน้ำหนักโดยตรง จากนั้นจึงถ่ายน้ำหนักไปสู่คานหรือเสา ซึ่งพื้นมีหลายประเภท ได้แก่ งานพื้นคอนกรีตหล่อในที่ แผ่นพื้นกึ่งสำเร็จรูป แผ่นพื้นเหล็ก และงานพื้นแบบคอมโพสิท (Composite Slab) เป็นต้น

แผ่น Metal Deck คือส่วนหนึ่งของงานพื้นแบบคอมโพสิท (Composite Slab) ที่ประกอบไปด้วยแผ่น Metal Deck และการเทคอนกรีตทับหน้า เมื่อคอนกรีตเซ็ทตัวก็จะได้งานระบบพื้นที่หน้าตาไม่ต่างจากแบบอื่น แต่ย่นระยะเวลาในการก่อสร้างได้มากกว่า ซึ่งแผ่น Metal Deck ผลิตจากเหล็กชุบสังกะสีรีดขึ้นรูป และมีปุ่มนูน (Embossment) กระจายอยู่ตามสันของแผ่น ปุ่มนูนเหล่านี้ เป็นเหมือนตัวยึดเกาะไม่ให้แผ่นพื้นเหล็กกับคอนกรีตไถลตัวออกจากกัน ซึ่งตัวแผ่น Metal Deck นั้นเป็นทั้งแบบและเหล็กเสริมไปในตัว จึงลดการใช้เหล็กเสริมมากกว่างานพื้นแบบอื่น โดยแผ่น Metal Deck หรือ Steel Deck สามารถใช้กับโครงสร้างเหล็ก และโครงสร้างปูน หากใช้กับโครงสร้างเหล็กจะใช้กับ Stud ในการติดตั้ง ขณะที่ใช้แผ่นนี้กับโครงสร้างปูนจะติดตั้งกับเหล็กหนวดกุ้ง เหล็กที่ยื่นออกมาจากโครงสร้างเพื่อยึดชิ้นส่วนโครงสร้างที่หล่อหน้างาน สามารถใช้ได้ทั้งเหล็กข้ออ้อย/เหล็กกลม ขึ้นอยู่การรับแรง (สามารถดูข้อมูลตารางออกแบบน้ำหนักบรรทุกจร ที่นี่)

ปัจจุบันงานพื้นที่ใช้แผ่น Metal Deck ได้รับความนิยมแพร่หลายในการก่อสร้างหลายประเภท เพราะเป็นงานระบบพื้นที่สร้างได้อย่างรวดเร็ว แข็งแรง ประหยัดในเรื่องของไม้แบบและเหล็กเสริม เหมาะสำหรับอาคารทั่วไป โรงงาน ตึกสูง บ้านพักอาศัย และอื่นๆอีกมากมาย

ให้แผ่น Metal Deck เป็นอีกหนึ่งทางเลือกในงานระบบพื้น สามารถสอบถามข้อมูลและปรึกษาเรื่องแบบกับทีมงาน ConTel Metal Deck ได้ที่ 083 699 6697 เรายินดีให้คำปรึกษาและพร้อมนำเสนอข้อมูลสินค้าที่เป็นประโยชน์งานก่อสร้างของคุณ

ช่องทางการติดต่อ ConTel Metal Deck

LINE : @contelmetaldeck

Tel. 083 699 6697


แผ่นพื้นเหล็ก Metal Deck ดีอย่างไร
แผ่นพื้นเหล็กประกอบ หรือที่เรียกทับศัพท์กันว่า แผ่นพื้น Metal Deck ที่หลายคนเคยเห็นตามไซต์งานก่อสร้าง อาคารต่างๆ แผ่นพื้นนี้อาจจะมีหน้าตาเป็นลอนคล้ายแผ่นมุงหลังคา Metal Sheet แต่หารู้ไม่ว่ามันทำหน้าที่กันคนละอย่างเลย เพราะแผ่นพื้น Metal Deck ที่ทางเราจำหน่ายเป็นแผ่นพื้นเหล็ก ประกอบ ซึ่งทำหน้าที่ในส่วนงานพื้น เป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้าง มีความสามารถในการรับน้ำหนัก และมีข้อดีต่างๆ ดังนี้

ข้อดีของแผ่นพื้น Metal Deck
แผ่นพื้น Metal Deck มีลักษณะเป็นลอนตลอดแผ่น ซึ่งลอนพวกนี้ช่วยลดปริมาณคอนกรีตที่ใช้ อย่างที่ทราบกันว่างานพื้นประกอบ (Composite Floor) จะต้องมีแผ่นพื้นเหล็ก ประกอบร่วมกับการเทคอนกรีตทับหน้า ลอนที่สูงขึ้นมาทำให้ใช้คอนกรีตน้อยลงเมื่อเทียบกับแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดท้องเรียบ
แผ่นพื้น Metal Deck สามารถรับแรงดึงได้ดีช่วยให้คอนกรีตไม่แตกร้าว ช่วยทำหน้าที่รับแรงดึงเหมือนกับเหล็กเสริมคอนกรีตทั่วไป
แผ่นพื้น Metal Deck มีจุดเด่นอย่างหนึ่งก็คือน้ำหนักเบากว่าแผ่นพื้นคอนกรีตทั่วไป แต่ยังสามารถรับกำลังได้ดี มีส่วนช่วยให้น้ำหนักโครงสร้างโดยรวมลดลง จึงทำให้ลดต้นทุนในการก่อสร้างได้ถึง 20%
การวางซ้อนกันของแผ่นพื้น Metal Deck ช่วยป้องกันพื้นรั่วซึมได้ดีกว่า เมื่อเทียบกับแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดท้องเรียบที่เมื่อวางต่อกันอาจมีช่องว่างเล็กๆที่ทำให้เกิดการรั่วซึมในภายหลัง
ไม่ต้องมีไม้แบบในงานก่อสร้าง เพราะแผ่นพื้น Metal Deck เป็นแบบสำหรับหล่อพื้นได้ด้วยตัวเอง ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายค่าไม้แบบและการรื้อถอนได้
ลดปัญหาเศษวัสดุเหลือหน้างาน เพราะแผ่นพื้น Metal Deck สามารถสั่งตัดได้ตามความยาวสูงสุด 12 เมตร และช่วยลดขยะหน้างานที่เกี่ยวกับเศษไม้แบบได้
แข็งแรง สามารถรับน้ำหนักได้ตามมาตรฐานพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
เมื่อทราบข้อดีของแผ่นพื้น Metal Deck แล้วต้องการใช้กับงานก่อสร้างของคุณ สามารถติดต่อทางบริษัท คอนเทล โฮม เรามีทีมงานที่เชี่ยวชาญพร้อมให้คำปรึกษาและข้อมูลที่เป็นประโยชน์กับทุกคน

สามารถดูตัวอย่างการติดตั้งได้ที่นี่

ช่องทางการติดต่อ ConTel Metal Deck
LINE : @contelmetaldeck

Tel. 083 699 6697

**ปลูกผักสวนครัว ง่ายๆ ทำได้ที่บ้าน**

การปลูกผักสวนครัวเป็นกิจกรรมที่ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซื้อผัก และเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ นอกจากนี้ยังเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ง่าย แม้แต่ผู้ที่ไม่มีพื้นที่มากนักก็สามารถปลูกผักสวนครัวได้

**การเตรียมการ**

ก่อนเริ่มปลูกผักสวนครัว สิ่งแรกที่ต้องทำคือการเตรียมการ ดังนี้

* **เลือกพื้นที่ปลูก** พื้นที่ปลูกผักสวนครัวควรได้รับแสงแดดอย่างน้อย 6 ชั่วโมงต่อวัน หากมีพื้นที่จำกัด สามารถปลูกผักสวนครัวในกระถาง หรือปลูกบนระเบียงหรือหน้าต่างก็ได้
* **เตรียมดิน** ดินสำหรับปลูกผักควรเป็นดินร่วนซุย ระบายน้ำได้ดี สามารถปรับปรุงดินด้วยปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก
* **เลือกผักที่จะปลูก** เลือกผักที่เหมาะกับสภาพอากาศและพื้นที่ปลูก เช่น หากปลูกในกระถาง ควรเลือกผักที่ปลูกง่าย เช่น ผักสวนครัวยอดนิยม เช่น ผักบุ้ง คะน้า กะเพรา โหระพา ผักชี เป็นต้น

**ขั้นตอนการปลูก**

เมื่อเตรียมการเรียบร้อยแล้ว ก็สามารถเริ่มปลูกผักสวนครัวได้ ดังนี้

* **ลงเมล็ด** หากปลูกผักจากเมล็ด ควรหว่านเมล็ดลงบนดินที่เตรียมไว้ รดน้ำให้ชุ่ม และคลุมด้วยพลาสติกใสเพื่อช่วยในการงอกของเมล็ด
* **ปักชำ** หากปลูกผักจากต้นกล้า ควรนำต้นกล้าลงปลูกในกระถางหรือแปลงปลูก รดน้ำให้ชุ่ม

**การดูแลรักษา**

หลังจากปลูกผักสวนครัวแล้ว ควรดูแลรักษาอย่างสม่ำเสมอ ดังนี้

* **รดน้ำ** ควรรดน้ำผักเป็นประจำทุกวัน อย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง
* **ใส่ปุ๋ย** ควรใส่ปุ๋ยให้กับผักทุกๆ 1-2 สัปดาห์ โดยใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก
* **กำจัดวัชพืช** ควรกำจัดวัชพืชที่ขึ้นรอบๆ ผักเป็นประจำ เพื่อไม่ให้วัชพืชแย่งอาหารและน้ำจากผัก

**การเก็บเกี่ยว**

เมื่อผักเจริญเติบโตเต็มที่ก็สามารถเก็บเกี่ยวได้ วิธีการเก็บเกี่ยวผักขึ้นอยู่กับชนิดของผัก เช่น ผักบุ้ง คะน้า กะเพรา สามารถตัดยอดผักมารับประทานได้ ส่วนผักที่มีผลหรือหัว เช่น มะเขือ มะเขือเทศ ฟักทอง ก็สามารถเก็บเกี่ยวผลหรือหัวมารับประทานได้

**ประโยชน์ของการปลูกผักสวนครัว**

การปลูกผักสวนครัวมีประโยชน์มากมาย ดังนี้

* **เป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ** ผักสดจากสวนครัวมีคุณค่าทางโภชนาการสูง ช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคต่างๆ
* **ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซื้อผัก** การปลูกผักสวนครัวทำให้สามารถมีผักสดๆ รับประทานได้เองโดยไม่ต้องซื้อ
* **เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์** การปลูกผักสวนครัวเป็นกิจกรรมที่ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และช่วยผ่อนคลายความเครียด

การปลูกผักสวนครัวเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ง่ายและมีประโยชน์มากมาย หากใครสนใจก็สามารถเริ่มปลูกผักสวนครัวได้ตั้งแต่วันนี้

โปรโมชั่นสำหรับคุณ รั้วตาข่าย รั้วแรงดึง
 ลวดหนาม ตาข่ายถัก

**สนิม**

สนิม เกิดจากการทำปฏิกิริยากันระหว่าง ออกซิเจนและธาตุเหล็ก เกิดเป็นรอยของการเกิดการผุกร่อน เป็น Corrosion ประเภทหนึ่งซึ่งมักเกิดกับโลหะจำพวกเหล็ก

การเกิดสนิมสามารถอธิบายได้ดังนี้

* **ปัจจัยทางเคมี** เหล็กเป็นโลหะที่มีอิเล็กโทรดศักย์ต่ำ เมื่อสัมผัสกับออกซิเจนในอากาศ เหล็กจะสูญเสียอิเล็กตรอนให้กับออกซิเจน เกิดเป็นสารประกอบออกไซด์ของเหล็กที่เรียกว่า สนิม

* **ปัจจัยทางกายภาพ** ความชื้นในอากาศ น้ำฝน และน้ำใต้ดิน เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาการเกิดสนิม

* **ปัจจัยทางสภาพแวดล้อม** อุณหภูมิที่สูง จะทำให้ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเกิดขึ้นเร็วขึ้น

สนิมเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยกับโลหะจำพวกเหล็ก ทำให้เกิดความเสียหายต่อโครงสร้างของโลหะและทำให้อายุการใช้งานของโลหะลดลง

วิธีป้องกันสนิมสามารถทำได้หลายวิธี เช่น

* **การเคลือบผิวโลหะ** ด้วยสารเคลือบผิว เช่น อีพ็อกซี่ โพลียูรีเทน หรือสีทาบ้าน จะช่วยป้องกันไม่ให้ออกซิเจนสัมผัสกับเหล็กได้โดยตรง

* **การชุบโลหะ** ด้วยสารกันสนิม เช่น สังกะสี โครเมียม หรือนิกเกิล จะช่วยป้องกันไม่ให้ออกซิเจนสัมผัสกับเหล็กได้โดยตรง

* **การบำรุงรักษาโลหะ** โดยหมั่นทำความสะอาดโลหะและทาสีซ้ำเมื่อสีเดิมเสื่อมสภาพ

หากพบสนิมบนโลหะ ควรรีบกำจัดสนิมออกโดยเร็ว เพื่อป้องกันไม่ให้สนิมลุกลามไปทำลายเนื้อโลหะ

วิธีกำจัดสนิมสามารถทำได้หลายวิธี เช่น

* **การใช้สารเคมี** เช่น น้ำยากัดสนิม หรือน้ำยาขัดสนิม

* **การใช้ความร้อน** เช่น การเชื่อม การเผา หรือการใช้เครื่องเจียร

* **การใช้วิธีทางกายภาพ** เช่น การขัด การถู หรือการใช้แปรงลวด

การเลือกใช้วิธีกำจัดสนิมที่เหมาะสม ควรพิจารณาจากชนิดของสนิม สภาพของโลหะ และสภาพแวดล้อม
ลวดหนาม
รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย
ลวดหนามกันสนิม

**พันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยง**

การเลี้ยงปลาเป็นกิจกรรมที่ได้รับความนิยมของคนทุกเพศทุกวัย เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่ให้ความเพลิดเพลิน ผ่อนคลาย และยังสามารถเป็นแหล่งอาหารที่ดีอีกด้วย การเลือกพันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยงนั้น จะต้องคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้

* **วัตถุประสงค์ในการเลี้ยง** ว่าต้องการเลี้ยงปลาเพื่อความสวยงาม เพื่อการบริโภค หรือเพื่อการศึกษา
* **ขนาดของสระเลี้ยง** หากเลี้ยงในสระขนาดใหญ่ ก็สามารถเลี้ยงปลาที่มีขนาดใหญ่ได้ หากเลี้ยงในสระขนาดเล็ก ควรเลี้ยงปลาที่มีขนาดเล็ก
* **อุณหภูมิของน้ำ** ปลาแต่ละสายพันธุ์จะทนต่ออุณหภูมิของน้ำที่แตกต่างกัน
* **ปริมาณออกซิเจนในน้ำ** ปลาแต่ละสายพันธุ์ต้องการปริมาณออกซิเจนในน้ำที่แตกต่างกัน
* **ความเค็มของน้ำ** ปลาแต่ละสายพันธุ์ต้องการความเค็มของน้ำที่แตกต่างกัน
* **พฤติกรรมของปลา** ปลาแต่ละสายพันธุ์มีพฤติกรรมที่แตกต่างกัน เช่น ปลาบางชนิดชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง ปลาบางชนิดชอบอยู่ตามลำพัง

**พันธุ์ปลาที่นิยมเลี้ยง**

พันธุ์ปลาที่นิยมเลี้ยงในประเทศไทยมีมากมาย ดังนี้

* **ปลาสวยงาม** เช่น ปลาทอง ปลาหางนกยูง ปลาสอด ปลาหมอสี ปลากัด เป็นต้น
* **ปลาเศรษฐกิจ** เช่น ปลานิล ปลาดุก ปลาตะเพียน ปลาช่อน เป็นต้น
* **ปลาอื่น ๆ** เช่น ปลากะพง ปลาเก๋า ปลาหมอทะเล เป็นต้น

**ตัวอย่างพันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยง**

* **ปลาทอง** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดเล็ก
* **ปลาหางนกยูง** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดเล็ก
* **ปลาสอด** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดเล็ก
* **ปลาหมอสี** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในสระขนาดใหญ่
* **ปลากัด** เป็นปลาที่เลี้ยงง่าย ทนต่อสภาพอากาศได้ดี เหมาะสำหรับการเลี้ยงในภาชนะขนาดเล็ก

**ข้อควรระวังในการเลี้ยงปลา**

* ควรหมั่นทำความสะอาดสระเลี้ยงปลาอย่างสม่ำเสมอ เพื่อป้องกันการสะสมของสิ่งสกปรกที่อาจทำให้เกิดโรคในปลา
* ควรให้อาหารปลาในปริมาณที่เหมาะสม ไม่มากหรือน้อยเกินไป
* ควรสังเกตพฤติกรรมของปลา หากพบปลาที่มีอาการผิดปกติ ควรรีบแยกเลี้ยงและรักษา

การเลือกพันธุ์ปลาที่เหมาะเลี้ยงนั้น มีความสำคัญต่อความสำเร็จในการเลี้ยงปลา หากเลือกพันธุ์ปลาที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และวัตถุประสงค์ในการเลี้ยง จะช่วยให้ปลาเจริญเติบโตได้ดีและลดความเสี่ยงในการเกิดโรค

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย ลวดหนาม

ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?


ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518


ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป

ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/

เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

**สัตว์เหมาะแก่การหาเงิน**

สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มนุษย์เลี้ยงไว้เพื่อประโยชน์หลายประการ เช่น เป็นแหล่งอาหาร เป็นเพื่อนคู่ใจ หรือเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม ในปัจจุบัน ยังมีสัตว์อีกหลายชนิดที่สามารถนำมาเป็นอาชีพได้ หรือที่เรียกว่า "สัตว์เศรษฐกิจ" ซึ่งสามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรหรือผู้เลี้ยงได้อย่างดี

**ปัจจัยในการเลือกสัตว์เศรษฐกิจ**

ในการเลือกสัตว์เศรษฐกิจนั้น จะต้องคำนึงถึงปัจจัยหลายประการ ดังนี้

* **ความต้องการของตลาด** จะต้องเลือกสัตว์ที่มีความต้องการสูงในตลาด เพื่อที่จะขายผลผลิตได้ง่ายและได้ราคาดี
* **สภาพพื้นที่และภูมิประเทศ** จะต้องเลือกสัตว์ที่ทนต่อสภาพอากาศและสภาพแวดล้อมในพื้นที่นั้น ๆ
* **ความรู้และประสบการณ์ในการเลี้ยง** จะต้องเลือกสัตว์ที่มีความรู้และประสบการณ์ในการเลี้ยงอยู่บ้าง เพื่อที่จะดูแลสัตว์ให้เจริญเติบโตและแข็งแรง

**ตัวอย่างสัตว์เศรษฐกิจ**

ตัวอย่างสัตว์เศรษฐกิจที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน ได้แก่

* **สัตว์เลี้ยงสวยงาม** เช่น ปลาสวยงาม นกสวยงาม สัตว์เลื้อยคลานสวยงาม เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจเนื้อ** เช่น วัว หมู ไก่ เป็ด เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจนม** เช่น วัว แพะ เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจไข่** เช่น ไก่ เป็ด เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจปีก** เช่น เป็ด ห่าน เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจขน** เช่น แกะ แพะ เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจหนัง** เช่น วัว หมู แพะ เป็นต้น
* **สัตว์เศรษฐกิจน้ำ** เช่น ปลานิล ปลาดุก ปลาตะเพียน เป็นต้น

**ข้อควรระวังในการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจ**

ในการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจนั้น จะต้องคำนึงถึงข้อควรระวังต่าง ๆ ดังนี้

* **ศึกษาข้อมูลและวางแผนอย่างรอบคอบ** ก่อนตัดสินใจเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจ ควรศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์ชนิดนั้น ๆ อย่างละเอียด รวมถึงความต้องการของตลาดและสภาพพื้นที่ เพื่อที่จะประสบความสำเร็จในการเลี้ยง
* **ดูแลสัตว์อย่างเอาใจใส่** สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตที่ต้องมีการดูแลเอาใจใส่อย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้เจริญเติบโตและแข็งแรง
* **ป้องกันโรคระบาด** โรคระบาดเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในการเลี้ยงสัตว์ ควรป้องกันโรคระบาดอย่างเข้มงวด เพื่อไม่ให้สัตว์ป่วยหรือตาย

สัตว์เศรษฐกิจเป็นอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรหรือผู้เลี้ยงได้เป็นอย่างดี หากศึกษาข้อมูลและวางแผนอย่างรอบคอบ ก็สามารถประสบความสำเร็จในการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจและสร้างรายได้ได้อย่างยั่งยืน

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม
ตาข่ายถักรั้วตาข่าย
รั้วแรงดึง

ทำไมที่ดินถึงมีราคาสูงขึ้น



ที่ดินแปลงหนึ่งมีแค่ที่เดียว
นี่เรียกว่าเป็นจุดเด่นของที่ดินเลยก็ว่าได้ ที่ดินหนึ่งแห่งนั้นมีคุณสมบัติเฉพาะในตัวมันเอง และมีเพียงชิ้นเดียว ไม่สามารถผลิตเพิ่มได้ หากอยากได้มาครอบครองก็ต้องซื้อต่อสถานเดียวครับ

จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น
เมื่อประชากรมีจำนวนมากขึ้น ความต้องการด้านที่อยู่อาศัยก็เพิ่มขึ้น ยิ่งในปัจจุบันคนต้องการมีพื้นที่ส่วนตัว และต้องการมีครอบครัวเดี่ยวด้วยแล้ว ราคาที่ดินจึงลดลงได้ยาก เมื่อ Demand กับ Supply มาเจอกัน ราคาที่ดินย่อมดีดตัวสูงขึ้น เนื่องจากทรัพยากรมีจำกัดนั่นเองครับ

ความเจริญของเมือง
แน่นอนว่าเมื่อสังคมเมืองมีการขยายตัว มีห้างสรรพสินค้า รถไฟฟ้า และการขนส่งสาธารณะที่สะดวกสบาย ราคาที่ดินในละแวกนั้นย่อมสูงขึ้นตามไปด้วย ยิ่งใกล้สถานที่ที่เป็นทำเลทองมากเท่าไร แปลว่าคนที่อาศัยอยู่บนที่ดินนั้นจะสะดวกสบายในการใช้ชีวิตมากขึ้น ดังนั้น ที่ดินบริเวณนั้นจึงแพงและมิอาจประเมินราคาที่ดินได้เลย ส่วนมากคนที่ซื้อต่อจึงเป็นบริษัทอสังหาริมทรัพย์นั่นเอง

เงินเฟ้อ
ถึงแม้ว่ามูลค่าที่ดินจะเท่าเดิม หรือหยุดนิ่งไปบ้าง แต่ถ้าเกิดปัญหาเงินเฟ้อ ราคาที่ดินย่อมมีราคาสูงขึ้นตามไปด้วย ตามเศรษฐกิจโดยรวมนั่นเองครับ

ข้อสังเกต
อีกสิ่งหนึ่งที่ทำให้ราคาที่ดินมีราคาสูงขึ้นกว่ามูลค่าของมัน เป็นเพราะช่วงภาวะฟองสบู่ สังคมหันมาลงทุนซื้อที่ดิน สร้างอสังหาฯ เพื่อเก็งกำไร ซึ่งราคาที่ดินที่สูงเกินความเป็นจริง จริงๆ แล้วได้ผสมรวมกำไรที่คาดหวังในอนาคตด้วย ดังนั้น หากมีผู้ซื้อเพื่อเอาไว้ลงทุนในอนาคตมากเท่าไร ราคาที่ดินก็ยิ่งแพงหูฉี่มากเท่านั้นครับ
แต่ถ้าฟองสบู่แตก มูลค่าผสมรวมกำไรที่คาดหวังในอนาคตก็จะลดลงไปด้วย ราคาที่ดินก็อาจจะลดลงเท่ากับมูลค่าที่แท้จริงของมันครับ
ลวดหนาม
รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย
ลวดหนามกันสนิม

ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?


ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518


ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป

ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/

เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/

**สนิม**

สนิม เกิดจากการทำปฏิกิริยากันระหว่าง ออกซิเจนและธาตุเหล็ก เกิดเป็นรอยของการเกิดการผุกร่อน เป็น Corrosion ประเภทหนึ่งซึ่งมักเกิดกับโลหะจำพวกเหล็ก

การเกิดสนิมสามารถอธิบายได้ดังนี้

* **ปัจจัยทางเคมี** เหล็กเป็นโลหะที่มีอิเล็กโทรดศักย์ต่ำ เมื่อสัมผัสกับออกซิเจนในอากาศ เหล็กจะสูญเสียอิเล็กตรอนให้กับออกซิเจน เกิดเป็นสารประกอบออกไซด์ของเหล็กที่เรียกว่า สนิม

* **ปัจจัยทางกายภาพ** ความชื้นในอากาศ น้ำฝน และน้ำใต้ดิน เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาการเกิดสนิม

* **ปัจจัยทางสภาพแวดล้อม** อุณหภูมิที่สูง จะทำให้ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเกิดขึ้นเร็วขึ้น

สนิมเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยกับโลหะจำพวกเหล็ก ทำให้เกิดความเสียหายต่อโครงสร้างของโลหะและทำให้อายุการใช้งานของโลหะลดลง

วิธีป้องกันสนิมสามารถทำได้หลายวิธี เช่น

* **การเคลือบผิวโลหะ** ด้วยสารเคลือบผิว เช่น อีพ็อกซี่ โพลียูรีเทน หรือสีทาบ้าน จะช่วยป้องกันไม่ให้ออกซิเจนสัมผัสกับเหล็กได้โดยตรง

* **การชุบโลหะ** ด้วยสารกันสนิม เช่น สังกะสี โครเมียม หรือนิกเกิล จะช่วยป้องกันไม่ให้ออกซิเจนสัมผัสกับเหล็กได้โดยตรง

* **การบำรุงรักษาโลหะ** โดยหมั่นทำความสะอาดโลหะและทาสีซ้ำเมื่อสีเดิมเสื่อมสภาพ

หากพบสนิมบนโลหะ ควรรีบกำจัดสนิมออกโดยเร็ว เพื่อป้องกันไม่ให้สนิมลุกลามไปทำลายเนื้อโลหะ

วิธีกำจัดสนิมสามารถทำได้หลายวิธี เช่น

* **การใช้สารเคมี** เช่น น้ำยากัดสนิม หรือน้ำยาขัดสนิม

* **การใช้ความร้อน** เช่น การเชื่อม การเผา หรือการใช้เครื่องเจียร

* **การใช้วิธีทางกายภาพ** เช่น การขัด การถู หรือการใช้แปรงลวด

การเลือกใช้วิธีกำจัดสนิมที่เหมาะสม ควรพิจารณาจากชนิดของสนิม สภาพของโลหะ และสภาพแวดล้อม
ลวดหนาม
รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย
ลวดหนามกันสนิม

**สนิม**

สนิม เกิดจากการทำปฏิกิริยากันระหว่าง ออกซิเจนและธาตุเหล็ก เกิดเป็นรอยของการเกิดการผุกร่อน เป็น Corrosion ประเภทหนึ่งซึ่งมักเกิดกับโลหะจำพวกเหล็ก

การเกิดสนิมสามารถอธิบายได้ดังนี้

* **ปัจจัยทางเคมี** เหล็กเป็นโลหะที่มีอิเล็กโทรดศักย์ต่ำ เมื่อสัมผัสกับออกซิเจนในอากาศ เหล็กจะสูญเสียอิเล็กตรอนให้กับออกซิเจน เกิดเป็นสารประกอบออกไซด์ของเหล็กที่เรียกว่า สนิม

* **ปัจจัยทางกายภาพ** ความชื้นในอากาศ น้ำฝน และน้ำใต้ดิน เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาการเกิดสนิม

* **ปัจจัยทางสภาพแวดล้อม** อุณหภูมิที่สูง จะทำให้ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเกิดขึ้นเร็วขึ้น

สนิมเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยกับโลหะจำพวกเหล็ก ทำให้เกิดความเสียหายต่อโครงสร้างของโลหะและทำให้อายุการใช้งานของโลหะลดลง

วิธีป้องกันสนิมสามารถทำได้หลายวิธี เช่น

* **การเคลือบผิวโลหะ** ด้วยสารเคลือบผิว เช่น อีพ็อกซี่ โพลียูรีเทน หรือสีทาบ้าน จะช่วยป้องกันไม่ให้ออกซิเจนสัมผัสกับเหล็กได้โดยตรง

* **การชุบโลหะ** ด้วยสารกันสนิม เช่น สังกะสี โครเมียม หรือนิกเกิล จะช่วยป้องกันไม่ให้ออกซิเจนสัมผัสกับเหล็กได้โดยตรง

* **การบำรุงรักษาโลหะ** โดยหมั่นทำความสะอาดโลหะและทาสีซ้ำเมื่อสีเดิมเสื่อมสภาพ

หากพบสนิมบนโลหะ ควรรีบกำจัดสนิมออกโดยเร็ว เพื่อป้องกันไม่ให้สนิมลุกลามไปทำลายเนื้อโลหะ

วิธีกำจัดสนิมสามารถทำได้หลายวิธี เช่น

* **การใช้สารเคมี** เช่น น้ำยากัดสนิม หรือน้ำยาขัดสนิม

* **การใช้ความร้อน** เช่น การเชื่อม การเผา หรือการใช้เครื่องเจียร

* **การใช้วิธีทางกายภาพ** เช่น การขัด การถู หรือการใช้แปรงลวด

การเลือกใช้วิธีกำจัดสนิมที่เหมาะสม ควรพิจารณาจากชนิดของสนิม สภาพของโลหะ และสภาพแวดล้อม
ลวดหนาม
รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย
ลวดหนามกันสนิม


ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง คืออะไร

คือ ภาษีรายปีที่เก็บและคิดจากมูลค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างที่เราครอบครอง โดยมีองค์กรท้องถิ่น เช่น เทศบาล อบต. เป็นผู้จัดเก็บ

โดยผู้ที่ต้องเสียภาษีที่ดินต้องมีเงื่อนไขดังนี้

1. เจ้าของกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ (ดูตามโฉนด ไม่ใช่ทะเบียนบ้าน)

2. ผู้ครอบครอง/ทำประโยชน์ในที่ดินนั้น จะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้

ซึ่งกฎหมายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 2562 เป็นกฎหมายที่มาแทนที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน กับ ภาษีบำรุงท้องที่ ซึ่งซ้ำซ้อนกัน

ประเภทของภาษีที่ดิน 2566 แบ่งประเภทที่ดินที่ต้องเสียภาษีไว้ 4 รายการ

1. ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม

2. ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย

3. ที่ดินเพื่อพาณิชยกรรม

4. ที่ดินรกร้างว่างเปล่า

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม ตาข่ายถัก
รั้วตาข่าย รั้วแรงดึง

ที่มา www.kwilife.com

แผ่นพื้นเหล็ก Metal Deck ดีอย่างไร
แผ่นพื้นเหล็กประกอบ หรือที่เรียกทับศัพท์กันว่า แผ่นพื้น Metal Deck ที่หลายคนเคยเห็นตามไซต์งานก่อสร้าง อาคารต่างๆ แผ่นพื้นนี้อาจจะมีหน้าตาเป็นลอนคล้ายแผ่นมุงหลังคา Metal Sheet แต่หารู้ไม่ว่ามันทำหน้าที่กันคนละอย่างเลย เพราะแผ่นพื้น Metal Deck ที่ทางเราจำหน่ายเป็นแผ่นพื้นเหล็ก ประกอบ ซึ่งทำหน้าที่ในส่วนงานพื้น เป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้าง มีความสามารถในการรับน้ำหนัก และมีข้อดีต่างๆ ดังนี้

ข้อดีของแผ่นพื้น Metal Deck
แผ่นพื้น Metal Deck มีลักษณะเป็นลอนตลอดแผ่น ซึ่งลอนพวกนี้ช่วยลดปริมาณคอนกรีตที่ใช้ อย่างที่ทราบกันว่างานพื้นประกอบ (Composite Floor) จะต้องมีแผ่นพื้นเหล็ก ประกอบร่วมกับการเทคอนกรีตทับหน้า ลอนที่สูงขึ้นมาทำให้ใช้คอนกรีตน้อยลงเมื่อเทียบกับแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดท้องเรียบ
แผ่นพื้น Metal Deck สามารถรับแรงดึงได้ดีช่วยให้คอนกรีตไม่แตกร้าว ช่วยทำหน้าที่รับแรงดึงเหมือนกับเหล็กเสริมคอนกรีตทั่วไป
แผ่นพื้น Metal Deck มีจุดเด่นอย่างหนึ่งก็คือน้ำหนักเบากว่าแผ่นพื้นคอนกรีตทั่วไป แต่ยังสามารถรับกำลังได้ดี มีส่วนช่วยให้น้ำหนักโครงสร้างโดยรวมลดลง จึงทำให้ลดต้นทุนในการก่อสร้างได้ถึง 20%
การวางซ้อนกันของแผ่นพื้น Metal Deck ช่วยป้องกันพื้นรั่วซึมได้ดีกว่า เมื่อเทียบกับแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดท้องเรียบที่เมื่อวางต่อกันอาจมีช่องว่างเล็กๆที่ทำให้เกิดการรั่วซึมในภายหลัง
ไม่ต้องมีไม้แบบในงานก่อสร้าง เพราะแผ่นพื้น Metal Deck เป็นแบบสำหรับหล่อพื้นได้ด้วยตัวเอง ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายค่าไม้แบบและการรื้อถอนได้
ลดปัญหาเศษวัสดุเหลือหน้างาน เพราะแผ่นพื้น Metal Deck สามารถสั่งตัดได้ตามความยาวสูงสุด 12 เมตร และช่วยลดขยะหน้างานที่เกี่ยวกับเศษไม้แบบได้
แข็งแรง สามารถรับน้ำหนักได้ตามมาตรฐานพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
เมื่อทราบข้อดีของแผ่นพื้น Metal Deck แล้วต้องการใช้กับงานก่อสร้างของคุณ สามารถติดต่อทางบริษัท คอนเทล โฮม เรามีทีมงานที่เชี่ยวชาญพร้อมให้คำปรึกษาและข้อมูลที่เป็นประโยชน์กับทุกคน

สามารถดูตัวอย่างการติดตั้งได้ที่นี่

ช่องทางการติดต่อ ConTel Metal Deck
LINE : @contelmetaldeck

Tel. 083 699 6697

แผ่น Metal Deck หรือ Steel Deck คืออะไร
มาทำความรู้จักกับแผ่นพื้นเหล็กที่ใช้สำหรับงานพื้นกัน หลายคนอาจเคยได้ยิน Metal Deck, Steel Deck หรือบางทีใช้คำว่า Composite Steel Deck ถ้าเป็นคำไทยก็อาจจะเรียกว่าแผ่นสำเร็จรูปพื้นลอนเหล็ก ไม่ว่าจะเรียกว่าอะไรก็ตาม ความหมายก็คือแผ่นที่ใช้สำหรับงานพื้นโดยเฉพาะ


งานพื้น หรือพื้นที่เรากำลังยืนหรือนั่งอยู่ตอนนี้ คือ หนึ่งในโครงสร้างพื้นฐานของอาคาร ที่ทำหน้าที่รับน้ำหนักบรรทุกที่เกิดขึ้นภายในอาคาร (น้ำหนักบรรทุกจร และน้ำหนักบรรทุกคงที่) พื้นเป็นโครงสร้างตามแนวราบของอาคาร ซึ่งรับน้ำหนักโดยตรง จากนั้นจึงถ่ายน้ำหนักไปสู่คานหรือเสา ซึ่งพื้นมีหลายประเภท ได้แก่ งานพื้นคอนกรีตหล่อในที่ แผ่นพื้นกึ่งสำเร็จรูป แผ่นพื้นเหล็ก และงานพื้นแบบคอมโพสิท (Composite Slab) เป็นต้น

แผ่น Metal Deck คือส่วนหนึ่งของงานพื้นแบบคอมโพสิท (Composite Slab) ที่ประกอบไปด้วยแผ่น Metal Deck และการเทคอนกรีตทับหน้า เมื่อคอนกรีตเซ็ทตัวก็จะได้งานระบบพื้นที่หน้าตาไม่ต่างจากแบบอื่น แต่ย่นระยะเวลาในการก่อสร้างได้มากกว่า ซึ่งแผ่น Metal Deck ผลิตจากเหล็กชุบสังกะสีรีดขึ้นรูป และมีปุ่มนูน (Embossment) กระจายอยู่ตามสันของแผ่น ปุ่มนูนเหล่านี้ เป็นเหมือนตัวยึดเกาะไม่ให้แผ่นพื้นเหล็กกับคอนกรีตไถลตัวออกจากกัน ซึ่งตัวแผ่น Metal Deck นั้นเป็นทั้งแบบและเหล็กเสริมไปในตัว จึงลดการใช้เหล็กเสริมมากกว่างานพื้นแบบอื่น โดยแผ่น Metal Deck หรือ Steel Deck สามารถใช้กับโครงสร้างเหล็ก และโครงสร้างปูน หากใช้กับโครงสร้างเหล็กจะใช้กับ Stud ในการติดตั้ง ขณะที่ใช้แผ่นนี้กับโครงสร้างปูนจะติดตั้งกับเหล็กหนวดกุ้ง เหล็กที่ยื่นออกมาจากโครงสร้างเพื่อยึดชิ้นส่วนโครงสร้างที่หล่อหน้างาน สามารถใช้ได้ทั้งเหล็กข้ออ้อย/เหล็กกลม ขึ้นอยู่การรับแรง (สามารถดูข้อมูลตารางออกแบบน้ำหนักบรรทุกจร ที่นี่)

ปัจจุบันงานพื้นที่ใช้แผ่น Metal Deck ได้รับความนิยมแพร่หลายในการก่อสร้างหลายประเภท เพราะเป็นงานระบบพื้นที่สร้างได้อย่างรวดเร็ว แข็งแรง ประหยัดในเรื่องของไม้แบบและเหล็กเสริม เหมาะสำหรับอาคารทั่วไป โรงงาน ตึกสูง บ้านพักอาศัย และอื่นๆอีกมากมาย

ให้แผ่น Metal Deck เป็นอีกหนึ่งทางเลือกในงานระบบพื้น สามารถสอบถามข้อมูลและปรึกษาเรื่องแบบกับทีมงาน ConTel Metal Deck ได้ที่ 083 699 6697 เรายินดีให้คำปรึกษาและพร้อมนำเสนอข้อมูลสินค้าที่เป็นประโยชน์งานก่อสร้างของคุณ

ช่องทางการติดต่อ ConTel Metal Deck

LINE : @contelmetaldeck

Tel. 083 699 6697

แผ่นพื้นเหล็ก Metal Deck ดีอย่างไร
แผ่นพื้นเหล็กประกอบ หรือที่เรียกทับศัพท์กันว่า แผ่นพื้น Metal Deck ที่หลายคนเคยเห็นตามไซต์งานก่อสร้าง อาคารต่างๆ แผ่นพื้นนี้อาจจะมีหน้าตาเป็นลอนคล้ายแผ่นมุงหลังคา Metal Sheet แต่หารู้ไม่ว่ามันทำหน้าที่กันคนละอย่างเลย เพราะแผ่นพื้น Metal Deck ที่ทางเราจำหน่ายเป็นแผ่นพื้นเหล็ก ประกอบ ซึ่งทำหน้าที่ในส่วนงานพื้น เป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้าง มีความสามารถในการรับน้ำหนัก และมีข้อดีต่างๆ ดังนี้

ข้อดีของแผ่นพื้น Metal Deck
แผ่นพื้น Metal Deck มีลักษณะเป็นลอนตลอดแผ่น ซึ่งลอนพวกนี้ช่วยลดปริมาณคอนกรีตที่ใช้ อย่างที่ทราบกันว่างานพื้นประกอบ (Composite Floor) จะต้องมีแผ่นพื้นเหล็ก ประกอบร่วมกับการเทคอนกรีตทับหน้า ลอนที่สูงขึ้นมาทำให้ใช้คอนกรีตน้อยลงเมื่อเทียบกับแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดท้องเรียบ
แผ่นพื้น Metal Deck สามารถรับแรงดึงได้ดีช่วยให้คอนกรีตไม่แตกร้าว ช่วยทำหน้าที่รับแรงดึงเหมือนกับเหล็กเสริมคอนกรีตทั่วไป
แผ่นพื้น Metal Deck มีจุดเด่นอย่างหนึ่งก็คือน้ำหนักเบากว่าแผ่นพื้นคอนกรีตทั่วไป แต่ยังสามารถรับกำลังได้ดี มีส่วนช่วยให้น้ำหนักโครงสร้างโดยรวมลดลง จึงทำให้ลดต้นทุนในการก่อสร้างได้ถึง 20%
การวางซ้อนกันของแผ่นพื้น Metal Deck ช่วยป้องกันพื้นรั่วซึมได้ดีกว่า เมื่อเทียบกับแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดท้องเรียบที่เมื่อวางต่อกันอาจมีช่องว่างเล็กๆที่ทำให้เกิดการรั่วซึมในภายหลัง
ไม่ต้องมีไม้แบบในงานก่อสร้าง เพราะแผ่นพื้น Metal Deck เป็นแบบสำหรับหล่อพื้นได้ด้วยตัวเอง ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายค่าไม้แบบและการรื้อถอนได้
ลดปัญหาเศษวัสดุเหลือหน้างาน เพราะแผ่นพื้น Metal Deck สามารถสั่งตัดได้ตามความยาวสูงสุด 12 เมตร และช่วยลดขยะหน้างานที่เกี่ยวกับเศษไม้แบบได้
แข็งแรง สามารถรับน้ำหนักได้ตามมาตรฐานพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
เมื่อทราบข้อดีของแผ่นพื้น Metal Deck แล้วต้องการใช้กับงานก่อสร้างของคุณ สามารถติดต่อทางบริษัท คอนเทล โฮม เรามีทีมงานที่เชี่ยวชาญพร้อมให้คำปรึกษาและข้อมูลที่เป็นประโยชน์กับทุกคน

สามารถดูตัวอย่างการติดตั้งได้ที่นี่

ช่องทางการติดต่อ ConTel Metal Deck
LINE : @contelmetaldeck

Tel. 083 699 6697

ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?


ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518


ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป

ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/

ที่ดิน ส.ป.ก ต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่?


ถ้าคุณเป็นเกษตรกรที่ได้รับที่ดินจากสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) อาจสงสัยว่า ที่ดินที่ได้มานั้นจะต้องเสียภาษีที่ดินหรือไม่? ในเมื่อเราได้รับการจัดสรรมาจากรัฐบาลแบบฟรีๆ วันนี้ เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบและเข้าใจกระบวนการเสียภาษีที่ดิน ส.ป.ก. กันครับ

ที่ดิน ส.ป.ก คืออะไร?
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือ ที่ดิน ส.ป.ก. เป็นที่ดินที่รัฐจัดสรรให้แก่เกษตรกรที่ไม่มีที่ทำกินเองหรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งการจัดสรรนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทางดินในการผลิตเกษตร ตาม เอกสารที่แสดงการครอบครองที่ดินที่สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ภายใต้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ออกให้กับประชาชนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518


ผู้ที่มีสิทธิในที่ดิน ส.ป.ก. มีใครบ้าง?
เกษตรกร
เป็นผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักอยู่แล้ว โดยใช้เวลาส่วนใหญ่ในรอบปี เพื่อประกอบเกษตรกรรมแห่งท้องถิ่นนั้น

ผู้ประสงค์จะประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก
ผู้ยากจน มีรายได้ต่ำกว่า 30,000 บาท/คน/ปี
จบการศึกษาทางเกษตรกรรม ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า
เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
สถาบันเกษตรกร
กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตร
ชุมชนสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์
หากมีคุณสมบัติตามที่กำหนดดังกล่าวข้างต้น สามารถยื่นคำร้องเพื่อขอรับการจัดที่ดิน ณ สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) จังหวัด โดยให้จัดเตรียมเอกสารและหลักฐาน ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน และหลักฐานการมีที่ดิน (ถ้ามี) เพื่อให้ ส.ป.ก.จังหวัด ตรวจสอบคุณสมบัติและดำเนินการจัดหาที่ดิน และจัดที่ดิน ส.ป.ก.ต่อไป

ที่ดิน ส.ป.ก. ต้องเสียภาษีหรือไม่?
โดยสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได้มีการนำที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดินมาใช้หาผลประโยชน์โดยมีค่าตอบแทนทั้งการให้เช่า เช่าซื้อ และอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน ซึ่งตามสัญญาเช่า เช่าซื้อ และหนังสืออนุญาตหรือยินยอมดังกล่าวได้กำหนดให้ผู้เช่า ผู้เช่าซื้อและผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน เป็นผู้มีหน้าที่ในการชำระค่าภาษีต่าง ๆ ในระหว่างการเช่า เช่าซื้อ และได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดิน

เมื่อ พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฯ มีการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง อันเป็นทรัพย์สินของรัฐ กรณีที่ดิน ส.ป.ก. ถือเป็นที่ดินอันเป็นทรัพย์สินของรัฐประเภทหนึ่งผู้มีหน้าที่ในการเสีย ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว ได้แก่

ผู้เช่า
ผู้เช่าซื้อ
ผู้ได้รับอนุญาตหรือยินยอมให้ใช้ที่ดินในฐานะผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดิน
การจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. อัตราเท่าไหร่? ต้องชำระที่ไหน?
พรบ. ภาษีที่ดินฯ ต้องการเรียกเก็บภาษีที่ดินฯ ที่ต้องการเรียกเก็บภาษีจากผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ โดยที่ดิน ส.ป.ก.จัดเป็นที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม จึงมีเพดานภาษีงสุด 0.15% อัตราภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมูลค่า 0 – 75 ล้านบาท อัตราจัดเก็บจริง 0.01% มูลค่า 75-100 ล้านบาท ภาษี 0.03% บ้านพักอาศัย เพดานภาษี 0.3% อัตราจัดเก็บจริงมูลค่า 0-10 ล้านบาท เป็นต้น

ขั้นตอนการจ่ายภาษีที่ดิน ส.ป.ก. จะเหมือนการจ่ายภาษีที่ดินบุคคลและนิติบุคคล โดยการชำระภาษี จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนของทุกปี แต่หากต้องจ่ายภาษีเป็นจำนวนเกิน 3,000 บาท เราสามารถใช้สิทธิ์ขอผ่อนชำระภาษีได้ 3 งวดเท่าๆ กัน โดยไม่เสียดอกเบี้ย

สถานที่ชำระภาษี สามารถชำระภาษีที่ดินได้ด้วยตัวเอง ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของพื้นที่ คือ

กรุงเทพ: ชำระภาษีที่สำนักงานเขตในพื้นที่ที่ทรัพย์สินตั้งอยู่
พัทยา: ชำระภาษีที่ศาลาว่าการเมืองพัทยา
ต่างจังหวัด: ชำระภาษีที่สำนักงานเทศบาล/ที่ทำการขององค์การบริหารส่วนตำบล/ที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีกฎหมายกำหนด หรือสถานที่อื่นที่ผู้บริหารท้องถิ่นกำหนด รวมทั้งจุดบริการเคลื่อนที่ที่ อปท. กำหนด
สรุป
แม้ว่าเป็นผู้ครอบครองที่ดินของรัฐในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) แต่หากทำประโยชน์ในที่ดิน ส.ป.ก. ผู้ครอบครองนั้นต้องเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งหมายความว่าผู้ถือกรรมสิทธิ์ที่ดินต้องชำระภาษีที่ดินตามอัตราที่กำหนดแม้ว่าที่ดินนั้นจะเป็นของรัฐ โดยมีอัตราภาษีที่ดินเหมือนกันกับภาษีที่ดินทั่วไป และต้องดำเนินการจ่ายตามกำหนดในทุกๆ ปีด้วยนั่นเอง

ขอบคุณที่มา https://kasetphan.com/do-alro-must-pay-tax/

เปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นโฉนด เริ่มวันนี้ เกษตรกร เช็คสิทธิ์-วิธี ด่วน!

รู้หรือไม่? เกษตรกรจำนวนมากขาดเอกสารสิทธิ์หรือโฉนดที่ดินที่ตัวเองใช้ทำมาหากิน และหลายคนกำลังเป็นข้อพิพาทที่ดินกับรัฐ บางกรณียืดเยื้อมาหลายสิบปี และถูกซ้ำเติมโดยนโยบายของรัฐ แม้เกษตรกรจะมีที่ดิน ส.ป.ก ก็ยังไม่มั่นคงในการถือครองเพราะห้ามเปลี่ยนมือซื้อขาย ทำให้เกษตรไม่มีแรงจูงใจในการพัฒนาที่ดินนั่นเอง

แต่มื่อวันที่ 8 ธ.ค. 2566 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เห็นชอบหลักการแปลงที่ดิน ส.ป.ก. 4-01 เป็นโฉนด ทำให้การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566 ได้รับความสนใจจากเกษตรเกษตรที่ได้รับสิทธิถือครอง ส.ป.ก.4-01 ที่มีอยู่จำนวน 1,628,520 ราย ภายหลัง คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือ คปก. มีมติเห็นชอบหลักการปรับปรุงเอกสารสิทธิ ส.ป.ก. 4-01 เพื่อยกระดับเป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

นโยบายรัฐบาลในการขับเคลื่อนการปรับปรุงหนังสือนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน หรือ ส.ป.ก. 4-0 1 ให้เป็นโฉนดที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

เเต่ที่เราจะรู้ว่าการเปลี่ยนโฉนดนั้นมีการเปลี่ยนเเปลงอะไรบ้าง เราต้องมารู้กันก่อนว่า ส.ป.ก คืออะไร ส.ป.ก คือ การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หรือที่ดิน ส.ป.ก.4-01 คือที่ดินเพื่อเกษตรกรรมที่รัฐทำการจัดสรรให้แก่เกษตรกรผู้ไม่มีที่ทำกินของตนเอง หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่เพียงพอแก่การครองชีพและสถาบันการเกษตร ซึ่งทางรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ให้มีการใช้ทรัพยากรจากพื้นที่ ผลิตจำหน่ายให้เกิดผลผลิตที่ดี

ผู้ที่ได้รับสิทธิ์การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรที่ถือเอกสารสิทธิ์ สปก. อยู่แล้ว และยังใช้ประโยชน์ในพื้นที่นั้น ต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป จะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน ภายในระยะเวลา 2 ปี
โดยได้รับสิทธิ์ตามเอกสารสิทธิ์ที่ตนถืออยู่ แต่จะยังไม่ซื้อขายที่ดินดังกล่าวได้ในระยะเวลา 5 ปีจากวันที่ได้รับโฉนด
หากในกรณีที่มีความจำเป็นในการกู้ยืม (การจำนอง) หรือจำเป็นจะต้องขายที่ดินที่ได้รับโฉนดนั้นก่อนเวลา 5 ปี ให้ดำเนินการผ่านธนาคารที่ดิน (ที่จะจัดตั้งขึ้น) โดยธนาคารที่ดินจะคิดราคาที่ดินตามราคาประเมินของที่ดินที่มีโฉนด
ส่วนเกษตรกรที่ยังไม่ได้เป็นผู้ถือเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน สปก. (หรือเป็นผู้ซื้อ/เปลี่ยนมือที่ดิน สปก. นั้น) เกษตรกรจะได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หาก (ก) เกษตรกรมีการใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปีขึ้นไป และ (ข) มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอมจากผู้ที่มีชื่อในเอกสารสิทธิ์ สปก. รวมถึง (ค) เกษตรกรผู้นั้นจะต้องเป็นผู้ที่มีทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท เกษตรกรดังกล่าวจะสามารถเปลี่ยน สปก. เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ระเบียบฯ การเปลี่ยน ส.ป.ก. เป็นฉโนดที่ดิน 2566
เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรผู้ได้รับมอบที่ดินให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินมีหน้าที่ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้

(1) ต้องทำประโยชน์ในที่ดินด้วยตนเองเต็มความสามารถ และไม่นำที่ดินนั้นทั้งหมดหรือบางส่วนไปให้บุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยการขาย ให้เช่า หรือเข้าทำประโยชน์ หรือโดยพฤติกรรมใดๆ ที่แสดงให้เห็นในลักษณะนั้น เว้นแต่ได้รับความยินยอมจาก ส.ป.ก. ทั้งนี้ ไม่รวมถึงกรณีการโอนให้เป็นไปตามที่ระเบียบคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคัดเลือกและจัดที่ดินให้แก่เกษตรกร การโอน หรือตกทอดทางมรดกสิทธิการเช่าหรือเช่าซื้อและการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินของเกษตรกรผู้ได้รับที่ดิน พ.ศ. 2564 กำหนด
ห้ามมิให้ผู้ได้รับโฉนดเพื่อการเกษตรเปลี่ยนมือ สละสิทธิ หรือกระทำการอื่นใด เพื่อให้บุคคลอื่นได้รับสิทธิในโฉนดเพื่อการเกษตรแทนตน ภายในสองปี นับแต่วันที่ออกโฉนดเพื่อการเกษตร เว้นแต่เป็นการจัดที่ดินแทนที่แก่คู่สมรส บุตร เครือญาติหรือทายาท

(2) ยินยอมทำสัญญาเช่า หรือสัญญาเช่าซื้อ หรือสัญญาจัดให้ โดยมีค่าชดเชยและต้องปฏิบัติตามสัญญาดังกล่าว
(3) ไม่เปลี่ยนแปลงสภาพที่ดิน จนเป็นเหตุให้ที่ดินเสื่อมสภาพความเหมาะสมแก่การประกอบเกษตรกรรม
(4) ไม่ขุดบ่อเพื่อการเกษตรกรรมเกินร้อยละห้าของเนื้อที่ที่ได้รับมอบ
(5) ไม่ปลูกสร้างสิ่งก่อสร้างใด ๆ เว้นแต่การปลูกสร้างตามสมควรสำหรับโรงเรือนที่อยู่อาศัยยุ้งฉาง หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ที่ใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรของเกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกรนั้น
(6) ดูแลรักษาหมุดหลักฐานของ ส.ป.ก. และหลักเขตที่ดินในที่ดินที่ได้รับมอบมิให้เกิดชำรุดเสียหายหรือเคลื่อนย้ายไปจากตำแหน่งเดิม
(7) ไม่กระทำการใดๆ ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งก่อสร้างในโครงการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การทำประโยชน์ในที่ดินของเกษตรกรอื่นและสภาพแวดล้อม
(8) ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการ คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัด รวมทั้งคำสั่งของเลขาธิการหรือผู้ซึ่งเลขาธิการมอบหมาย
(9) ปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมที่ทำกับ ส.ป.ก. และปฏิบัติตามพันธกรณีที่มีอยู่กับสถาบันการเงินหรือบุคคลที่ดำเนินงานร่วมกับ ส.ป.ก

วิธีการเปลี่ยน ส.ป.ก เป็นฉโนดที่ดิน ปี 2566
ดาวน์โหลดแอป “SmartLands” หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ dol.go.th บนโทรศัพท์ที่มีอินเตอร์เน็ตและเปิดสัญญาณ GPS โดยจำต้องดำเนินการบริเวณที่ดินของผู้ต้องการเปลี่ยน ส.ป.ก
เลือกเมนู “บอกดิน” และกดปุ่ม “แจ้งตำแหน่งที่ดิน”
รอให้ระบบแสดงค่าพิกัดตำแหน่งที่ดินของท่าน
กรอกข้อมูลเจ้าของที่ดิน เช่น ชื่อ, ที่อยู่, หมายเลขโทรศัพท์ ตามที่ระบบกำลังแสดง
เลือกหลักฐานที่ดินที่มีอยู่กับท่าน เช่น ส.ป.ก., น.ส.3, น.ส.3 ก
หากไม่มีหลักฐานใดๆ ให้เลือก “อื่นๆ” และกดปุ่ม “ส่ง”
รอระบบตรวจสอบและดำเนินการประมวลผล หลังจากนั้นรอรับการแจ้งกลับจากระบบหรือจากกรมที่ดินผ่านทางเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน “SmartLands”
สามารถติดตามสถานะการดำเนินการผ่านทางแอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ได้

สรุป
การเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดที่ดินในปี 2566 ต้องเป็นเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเนื่องมา 10 ปี ไม่ปล่อยให้ที่ดิน รกร้างว่างเปล่า ต้องมีการทำเกษตร หรือล้อมรั้ว เเบ่งที่ไว้อย่างชัดเจน การที่ล้อมรั้วตาข่าย หรือ ล้อมรั้วลวดหนาม จะเป็นตัวช่วยในการกำหนดขอบเขตของที่ดิน ไม่ให้เสียประโยชน์พื้นที่นั้นไป , ได้รับสิทธิ์ในระยะ 2 ปี, แต่ไม่สามารถซื้อขายที่ดินที่ได้รับโฉนดได้ภายใน 5 ปี, และกรณีจำเป็นในการกู้ยืมหรือขายที่ดินต้องผ่านธนาคารที่ดินที่จัดตั้งขึ้น เกษตรกรที่ยังไม่ถือ ส.ป.ก. สามารถได้รับการเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดิน หากใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำการเกษตรต่อเนื่องมา 10 ปี, มีเอกสารหรือพยานการทำข้อตกลง/การยินยอม, เป็นเจ้าของทรัพย์สินไม่เกิน 10 ล้านบาท, และสามารถเปลี่ยนส.ป.ก.เป็นโฉนดได้ไม่เกิน 50 ไร่

ขอบคุณที่มาจาก https://www.ruataewada.com/change-alro-to-title-deed-how-and-check-right/


ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง คืออะไร

คือ ภาษีรายปีที่เก็บและคิดจากมูลค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างที่เราครอบครอง โดยมีองค์กรท้องถิ่น เช่น เทศบาล อบต. เป็นผู้จัดเก็บ

โดยผู้ที่ต้องเสียภาษีที่ดินต้องมีเงื่อนไขดังนี้

1. เจ้าของกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ (ดูตามโฉนด ไม่ใช่ทะเบียนบ้าน)

2. ผู้ครอบครอง/ทำประโยชน์ในที่ดินนั้น จะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้

ซึ่งกฎหมายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 2562 เป็นกฎหมายที่มาแทนที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน กับ ภาษีบำรุงท้องที่ ซึ่งซ้ำซ้อนกัน

ประเภทของภาษีที่ดิน 2566 แบ่งประเภทที่ดินที่ต้องเสียภาษีไว้ 4 รายการ

1. ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม

2. ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย

3. ที่ดินเพื่อพาณิชยกรรม

4. ที่ดินรกร้างว่างเปล่า

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม ตาข่ายถัก
รั้วตาข่าย รั้วแรงดึง

ที่มา www.kwilife.com


ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง คืออะไร

คือ ภาษีรายปีที่เก็บและคิดจากมูลค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างที่เราครอบครอง โดยมีองค์กรท้องถิ่น เช่น เทศบาล อบต. เป็นผู้จัดเก็บ

โดยผู้ที่ต้องเสียภาษีที่ดินต้องมีเงื่อนไขดังนี้

1. เจ้าของกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ (ดูตามโฉนด ไม่ใช่ทะเบียนบ้าน)

2. ผู้ครอบครอง/ทำประโยชน์ในที่ดินนั้น จะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้

ซึ่งกฎหมายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 2562 เป็นกฎหมายที่มาแทนที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน กับ ภาษีบำรุงท้องที่ ซึ่งซ้ำซ้อนกัน

ประเภทของภาษีที่ดิน 2566 แบ่งประเภทที่ดินที่ต้องเสียภาษีไว้ 4 รายการ

1. ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม

2. ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย

3. ที่ดินเพื่อพาณิชยกรรม

4. ที่ดินรกร้างว่างเปล่า

โปรโมชั่นสำหรับคุณ ลวดหนาม ตาข่ายถัก
รั้วตาข่าย รั้วแรงดึง

ที่มา www.kwilife.com

**ทำสวนปลูกผัก ความสุขง่ายๆ ใกล้ตัว**

การปลูกผักเป็นกิจกรรมที่ได้รับความนิยมมากขึ้นในปัจจุบัน ผู้คนหันมาสนใจปลูกผักเองมากขึ้น เพราะสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซื้อผักและได้ผักสดๆ ปลอดสารพิษมารับประทาน อีกทั้งการปลูกผักยังเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกายและใจอีกด้วย

**ประโยชน์ของการปลูกผัก**

การปลูกผักมีประโยชน์มากมาย ดังนี้

* **ได้ผักสดๆ ปลอดสารพิษมารับประทาน** ผักที่ปลูกเองนั้นไม่มีสารเคมีตกค้าง จึงปลอดภัยต่อสุขภาพมากกว่าผักที่ซื้อจากตลาด
* **ช่วยลดค่าใช้จ่าย** การปลูกผักเองนั้นสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซื้อผักได้ โดยเฉพาะผักที่มีราคาแพง
* **ได้ออกกำลังกาย** การปลูกผักเป็นกิจกรรมที่ต้องใช้แรงกาย จึงช่วยให้ร่างกายแข็งแรง
* **เป็นการพักผ่อนหย่อนใจ** การปลูกผักเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้จิตใจสงบ ผ่อนคลายความเครียด

**วิธีการทำสวนปลูกผัก**

การทำสวนปลูกผักสามารถทำได้ง่าย ๆ ดังนี้

1. **เลือกพื้นที่ที่เหมาะสม** พื้นที่สำหรับปลูกผักควรเป็นพื้นที่ที่มีแสงแดดส่องถึงอย่างน้อย 6 ชั่วโมงต่อวัน
2. **เตรียมดิน** ดินสำหรับปลูกผักควรเป็นดินร่วนซุย มีอินทรียวัตถุสูง
3. **เลือกพันธุ์ผักที่เหมาะสม** เลือกพันธุ์ผักที่เหมาะกับสภาพอากาศและพื้นที่ปลูก
4. **หว่านหรือปลูกเมล็ด** หว่านหรือปลูกเมล็ดผักตามคำแนะนำของฉลากบรรจุภัณฑ์
5. **รดน้ำและดูแลอย่างสม่ำเสมอ** รดน้ำให้ผักชุ่มชื้นอยู่เสมอ และดูแลกำจัดวัชพืช

**ผักที่ปลูกง่าย**

ผักที่ปลูกง่าย ได้แก่ ผักสวนครัวทั่วไป เช่น ผักคะน้า ผักบุ้ง ผักกาดหอม ผักชี ต้นหอม มะเขือเทศ แตงกวา เป็นต้น ผักเหล่านี้ปลูกง่าย ดูแลไม่ยาก และสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ภายใน 1-2 เดือน

**เคล็ดลับในการทำสวนปลูกผัก**

* ควรเลือกผักที่เหมาะกับสภาพอากาศและพื้นที่ปลูก เพื่อให้ผักเจริญเติบโตได้ดี
* ควรเตรียมดินให้พร้อมก่อนปลูกผัก โดยใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักลงไปในดินเพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุ
* ควรรดน้ำผักอย่างสม่ำเสมอ แต่ไม่ควรรดน้ำมากเกินไป เพราะจะทำให้รากผักเน่า
* ควรกำจัดวัชพืชอย่างสม่ำเสมอ เพราะวัชพืชแย่งสารอาหารและน้ำจากผัก
* ควรหมั่นสังเกตผัก หากพบโรคและแมลงควรรีบกำจัดให้ทันเวลา

การทำสวนปลูกผักเป็นกิจกรรมที่สามารถทำได้ทุกคน ไม่ว่าจะมีพื้นที่มากหรือน้อยก็สามารถปลูกผักได้ การปลูกผักเป็นกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกายและใจ อีกทั้งยังช่วยให้เราประหยัดค่าใช้จ่ายอีกด้วย
ลวดหนาม
รั้วลวดหนาม
รั้วตาข่าย
ลวดหนามกันสนิม

แผ่นพื้นเหล็ก Metal Deck ดีอย่างไร

แผ่นพื้นเหล็กประกอบ หรือที่เรียกทับศัพท์กันว่า แผ่นพื้น Metal Deck ที่หลายคนเคยเห็นตามไซต์งานก่อสร้าง อาคารต่างๆ แผ่นพื้นนี้อาจจะมีหน้าตาเป็นลอนคล้ายแผ่นมุงหลังคา Metal Sheet แต่หารู้ไม่ว่ามันทำหน้าที่กันคนละอย่างเลย เพราะแผ่นพื้น Metal Deck ที่ทางเราจำหน่ายเป็นแผ่นพื้นเหล็กประกอบ ซึ่งทำหน้าที่ในส่วนงานพื้น เป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้าง มีความสามารถในการรับน้ำหนัก และมีข้อดีต่างๆ ดังนี้

ข้อดีของแผ่นพื้น Metal Deck
แผ่นพื้น Metal Deck มีลักษณะเป็นลอนตลอดแผ่น ซึ่งลอนพวกนี้ช่วยลดปริมาณคอนกรีตที่ใช้ อย่างที่ทราบกันว่างานพื้นประกอบ (Composite Floor) จะต้องมีแผ่นพื้นเหล็กประกอบร่วมกับการเทคอนกรีตทับหน้า ลอนที่สูงขึ้นมาทำให้ใช้คอนกรีตน้อยลงเมื่อเทียบกับแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดท้องเรียบ
แผ่นพื้น Metal Deck สามารถรับแรงดึงได้ดีช่วยให้คอนกรีตไม่แตกร้าว ช่วยทำหน้าที่รับแรงดึงเหมือนกับเหล็กเสริมคอนกรีตทั่วไป
แผ่นพื้น Metal Deck มีจุดเด่นอย่างหนึ่งก็คือน้ำหนักเบากว่าแผ่นพื้นคอนกรีตทั่วไป แต่ยังสามารถรับกำลังได้ดี มีส่วนช่วยให้น้ำหนักโครงสร้างโดยรวมลดลง จึงทำให้ลดต้นทุนในการก่อสร้างได้ถึง 20%
การวางซ้อนกันของแผ่นพื้น Metal Deck ช่วยป้องกันพื้นรั่วซึมได้ดีกว่า เมื่อเทียบกับแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดท้องเรียบที่เมื่อวางต่อกันอาจมีช่องว่างเล็กๆที่ทำให้เกิดการรั่วซึมในภายหลัง
ไม่ต้องมีไม้แบบในงานก่อสร้าง เพราะแผ่นพื้น Metal Deck เป็นแบบสำหรับหล่อพื้นได้ด้วยตัวเอง ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายค่าไม้แบบและการรื้อถอนได้
ลดปัญหาเศษวัสดุเหลือหน้างาน เพราะแผ่นพื้น Metal Deck สามารถสั่งตัดได้ตามความยาวสูงสุด 12 เมตร และช่วยลดขยะหน้างานที่เกี่ยวกับเศษไม้แบบได้

แข็งแรง สามารถรับน้ำหนักได้ตามมาตรฐานพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
เมื่อทราบข้อดีของแผ่นพื้น Metal Deck แล้วต้องการใช้กับงานก่อสร้างของคุณ สามารถติดต่อทางบริษัท คอนเทล โฮม เรามีทีมงานที่เชี่ยวชาญพร้อมให้คำปรึกษาและข้อมูลที่เป็นประโยชน์กับทุกคน

สามารถดูตัวอย่างการติดตั้งได้ที่นี่

ช่องทางการติดต่อ Metal Deck
LINE : @contelmetaldeck

Tel. 083 699 6697