ThaiFranchiseCenter Webboard

การให้บริการทางธุรกิจ | Business Service => การเงิน | Finance => ข้อความที่เริ่มโดย: อัญณา ที่ กรกฎาคม 27, 2019, 06:43:15 AM

หัวข้อ: อย่าถูกหลอกเกี่ยวกับบัตรเครดิตเด็ดขาด
เริ่มหัวข้อโดย: อัญณา ที่ กรกฎาคม 27, 2019, 06:43:15 AM
สำหรับในเรื่องของ วิธีทำบัตรเครดิต (https://www.scb.co.th/th/personal-banking/cards/credit-cards/apply-form.html) นั้นแน่นอนว่าในปัจจุบันเราสามารถที่จะหาคำตอบได้ง่ายเพียงแค่เสิร์ทอินเตอร์เน็ตก็รู้แล้ว แต่ทั้งนี้การทำบัตรเครดิตในแต่ละครั้งนั้นเราก็จำเป๋นที่จะต้องศึกษาถึงรายละเอียดต่างๆ ให้ถี่ถ้วนเสียก่อน เพราะมิฉะนั้นแล้วเราก็อาจจะถูกหลอกได้ อย่างเช่น ในเรื่องของการทำ ประกันภัย (https://www.scb.co.th/th/personal-banking/insurance.html)ที่มีพ่วงมากับบัตรเครดิต ซึ่งเราไม่จำเป็นที่จะต้องทำก็ได้โดยไปเลือกสมัครบัตรเครดิตใบอื่นๆ เอาก็ได้
นอกจากนี้ในเรื่องของค่าธรรมเนียมต่างๆ ก็ควรดูให้ดี เพราะอาจจะเจอเรียกเก็บ ค่าธรรมเนียมโอนเงิน (https://www.scb.co.th/th/personal-banking/rates-fees.html)มาแบบงงๆ เพราะบัตรเครดิตนั้นไม่ใช่บัตรเอทีเอ็มที่จะมี การโอนเงิน (https://www.scb.co.th/th/personal-banking/other-services/domestic-fund-transfer.html) ได้นั่นเอง ส่วนในเรื่องของ วงเงินบัตรเครดิต (https://www.scb.co.th/th/personal-banking/faq/card-faq.html) ที่ทางธนาคารจะอนุมัติให้เท่าไหร่นั้นมันก็ขึ้นอยู่กับว่าเรามีฐานเงินเดือนเท่าไหร่ด้วยนั่นเอง และสำหรับใครก็ตามทก็เพิ่งจะสมัครบัตรเครดิตเป็นครั้งแรกนั้นก็อาจจะกังวลว่าจะโดนล้วงข้อมูลไปตอนไหนก็ได้ และยิ่งในปัจจุบันเหล่ามิจาฉาชีพต่างเลือกใช้วิธีที่หลากหลายในการขโมยข้อมูลบัตรเครดิต โดยวิธีที่เป็นคลาสิคหรือสุดฮิตนั้นเราก็ขอยกตัวอย่างเช่น
1.   การนำข้อมูลของผู้อื่นไปปลอมแปลงเพื่อทำเอกสารสำคัญที่ใช้สำหรับในการสมัครบัตรเครดิต เพราะถ้าหากว่าทางสถาบันการเงินไม่ทำการตรวจสอบให้ดีนั้นมันก็อาจจะทำให้ข้อมูลของเราถูกนำไปใช้เพื่อออกบัตรเครดิตใบใหม่ โดยที่เราไม่รู้ตัวก็ได้ ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องที่อันตรายเอามากๆ
2.   ใช้วิธีการขโมยบัตรเครดิตไปจากกระเป๋าถือหรือในจังหวะที่เราทำหล่นหายไปใช้โดยที่เราไม่รู้ตัว ซึ่งการขโมยบัตรเครดิตไปใช้นั้น แน่นอนว่ามันอาจจะมีเรื่องของระบบการป้องกัน อย่างเช่น การถที่เราโทรศัพท์ไปขออายัดบัตรกับทางธนาคารหรือหากเราไปใช้ในการชำระค่าสินค้าหรือบริการนั้นก็จำเป็นที่จะต้องมีการเซ็นชื่อกำกับด้วย
3.   ใช้เทคโนโลยีที่มีอุปกรณ์อ่านข้อมูลจากแถบแม่เหล็กที่เรียกว่า (เครื่อง skimmer) คัดลอกข้อมูลของบัตรเครดิต ในจังหวะที่เราละสายตาจากบัตรเครดิตแล้วทำบัตรปลอมขึ้นมาอีกหนึ่งใบ โดยมีข้อมูลของเราเป็นเจ้าของบัตรปลอมนั้น
4.   ใช้วิธีการหลอกลวงข้อมูลของบัตรและข้อมูลส่วนตัวไป ผ่านโทรศัพที่มักใช้ Call Center มาหลอกลวง แล้วนำไปใช้ซื้อสินค้าหรือบริการผ่านทางอินเตอร์เน็ตข้อมูลดังกล่าว โดยเฉพาะถ้ารู้รหัสผ่าน 3 หลักหลังบัตร ไม่ควรให้ข้อมูลกับทางโทรศัพท์เด็ดขาด ฉะนั้นเราควรต้องระวังเรื่องของ call Center ให้มากๆ
และที่เราได้กล่าวมาข้างต้นนั้นก็นับว่าเป็นเรื่องของกลโกงที่มักจะเกิดขึ้นกับการใช้บัตรเครดิต ฉะนั้นแล้วเวลาที่เราจะใช้บัตรเครดิต บัตรเอทีเอ็ม หรืออะไรก็ตามนั้นเราจำเป็นที่จะต้องใช้ความรอบคอบและระมัดระวังให้มากๆ มิฉะนั้นแล้วเราก็อาจจะเกิดปัญหาจากกลโกงในเรื่องนี้ตามมานั่นเอง และเราต้องยอมรับว่ากลโกงสุดฮิตบัตรเครดิตที่เราได้กล่าวไปในข้างต้นนั้นก็มักจะประสบความสำเร็จอย่างดี เพราะบางครั้งเราคิดว่าเราป้องกันดีแล้ว แต่พวกมิจฉาชีพก็ยังจะหาโอกาสและจังหวะที่เราเผลอ ดังนั้น เราควรป้องกันข้อมูลของเราไว้ให้ได้ ไม่เปิดเผยต่อบุคคลใดทั้งนั้น