ThaiFranchiseCenter Webboard

ตลาดกลางธุรกิจค้าปลีก | Retail Market => เสนอสินค้าเกี่ยวกับเทคโนโลยี, สินค้าเฉพาะอย่าง | Technology Supply => ข้อความที่เริ่มโดย: อัญณา ที่ ธันวาคม 29, 2020, 06:33:51 PM

หัวข้อ: นักการตลาดและผู้บริหารยุคใหม่ควรเอากลยุทธ์อะไรบ้าง ไปใช้ในการ rebranding
เริ่มหัวข้อโดย: อัญณา ที่ ธันวาคม 29, 2020, 06:33:51 PM
ในการทำธุรกิจในแต่ละขั้นตอนนั้นจำเป็นที่จะต้องมีกลยุทธ์เพื่อให้แบรนด์สามารถไปต่อได้ โดยหนึ่งในกลยุทธ์ที่แบรนด์เล็กและแบรนด์ใหญ่ ๆ ได้นำเอามาใช้นั่นก็คือการ rebranding ที่เป็นเสมือนการทำให้แบรนด์ได้เกิดขึ้นมาใหม่อีกครั้งนั่นเอง เรามาหาคำตอบของ 7 กลยุทธ์ของการรีแบรนด์ คืออะไรบ้างที่นักการตลาดและผู้บริหารยุคใหม่ควรนำไปใช้
1. เริ่มต้น rebranding ด้วยการถกปัญหาที่มีมาให้หมด ไม่หมกเม็ด
การจัด rebrand ทั้งทีนั้นไม่ใช่เรื่องที่ใช้เวลาสั้น ๆ และเป็นเรื่องง่าย ๆ เสมอไป ฉะนั้นหากจะ rebrand ทั้งทีก็ควรที่จะนำปัญหาที่มีอยู่ทั้งหมดเข้ามาคุยกันบนโต๊ะกับทีมงานทุกคน เพื่อทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ที่ได้ผลลัพธ์สูงสุด
2. ถ่ายทอดเรื่องราวผ่านสื่อที่เหมาะกับกลุ่มลูกค้า
แต่ละแบรนด์นั้นต่างก็มีกลุ่มลูกค้าที่แตกต่างกันไป การทำ rebrand จึงจำเป็นที่จะต้องใช้เรื่องราวที่เหมาะสมกับกลุ่มลูกค้าของตัวเอง และไม่ควรที่จะมาจากความคิดของพนักงานภายในองค์กรเท่านั้น แต่ควรที่จะมาจากความเป็นไปได้และความคิดของลูกค้าที่แบรนด์ได้ทำการสำรวจมา
3. รีแบรนด์ ทั้งภายในและภายนอก
การ rebrand ที่ดีนั้นไม่อาจสามารถทำได้แค่ภายนอกขององค์กรเท่านั้น แต่ควรที่จะทำไปพร้อม ๆ กับการ rebrand ภายในองค์กรด้วยเช่นกัน เพื่อให้การปรับเปลี่ยนทั้งหมดมีประสิทธิภาพและทรงพลังมากที่สุด
4. ไม่เอาเรื่องเก่ามาเล่าใหม่ อะไรเดิม ๆ ทิ้งไปได้เลย
การนำเอาเรื่องเก่ามาเล่าใหม่นั้นไม่ใช่เรื่องที่ผิด แต่จะทำให้ลูกค้าไม่สามารถเปลี่ยนมุมมองที่มีต่อภาพลักษณ์ของแบรนด์ได้ง่าย การปรับปรุงมองและทัศนคติของลูกค้าที่มีต่อแบรนด์จึงจำเป็นต้องสร้างเรื่องราวในการสื่อสารขึ้นมาใหม่
5. มุ่งเน้นไปที่คุณภาพมากกว่าปริมาณอยู่เสมอ
การรีแบรนด์ คือการนำเสนอภาพลักษณ์ของแบรนด์ว่าองค์กรให้ความสำคัญกับคุณภาพมากกว่าปริมาณ เพราะไม่ว่าจะเป็นลูกค้าคนไหนก็ย่อมต้องการสินค้าหรือบริการที่มีคุณภาพด้วยกันทั้งนั้น หากมีแต่ปริมาณแต่ไม่มีคุณภาพ การ rebrand ก็อาจไม่ใช่กลยุทธ์ที่ดีในการปรับมุมมองของลูกค้าให้ดีขึ้นได้
6. วางแผนและเตรียมการเอาไว้อยู่เสมอ
การ rebranding (https://www.rs.co.th/4-เคล็ดลับการ-rebranding/) คือ กลยุทธ์อย่างหนึ่งที่จำเป็นต้องมีการวางแผนเอาไว้ล่วงหน้าเช่นเดียวกับการทำแผนธุรกิจทั่วไป เพื่อให้สามารถรองรับกับความเสี่ยงและผลลัพธ์ด้านลบที่อาจเกิดขึ้นจากการ rebrand ในแต่ละครั้งได้
7. สร้างจุดเด่นด้วยการนำจุดแข็งของแบรนด์มาสื่อสาร
แบรนด์ทุกแบรนด์มีจุดเด่นและจุดแข็งเป็นของตัวเอง คุณสามารถนำเอาข้อได้เปรียบที่มากกว่าคู่แข่งเหล่านี้มาใช้ในการสื่อสารต่อลูกค้าได้ เพราะหากพยายามลบจุดด้อยอาจเป็นเรื่องที่ยากกว่าและใช้เวลารวมถึงใช้ต้นทุนที่มากกว่านั่นเอง
(https://www.rs.co.th/wp-content/uploads/2020/11/Thumbnail-2000x1240.jpg)
การรีแบรนด์ดิ้งนี้ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์ของ RS Public Company Limited ที่เหล่าทีมงานและผู้บริหาร RS (https://www.rs.co.th/th/เปิดตัว-ทีมผู้บริหาร-rs-ให/) ได้นำมาใช้เพื่อให้แบรนด์อาร์เอสได้เติบโตอย่างแข็งแรงต่อไป องค์กรที่มีแบรนด์แข็งแกร่งแห่งนี้รอให้คุณได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการก้าวสู่อนาคตด้วยกัน หากอยากเป็นส่วนหนึ่งขององค์กรชั้นนำอย่างอาร์เอส สมัครงานได้ที่นี่ https://www.rs.co.th/th/career/ (https://www.rs.co.th/th/career/)
(https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/2/21/Rs-group-logo.svg/400px-Rs-group-logo.svg.png)

อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับค่านิยมองค์กรได้ที่นี่ https://www.rs.co.th/th/ค่านิยมองค์กร-core-value-คืออะไร/ (https://www.rs.co.th/th/ค่านิยมองค์กร-core-value-คืออะไร/)
อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับกลยุทธ์ธุรกิจ ได้ที่นี่ https://www.rs.co.th/th/การวางกลยุทธ์ทางธุรกิจ/ (https://www.rs.co.th/th/การวางกลยุทธ์ทางธุรกิจ/)