ThaiFranchiseCenter Webboard

ThaiFranchiseCenter Webboard - Info Center

* สมัครสมาชิกเว็บบอร์ด ไทยแฟรนไชส์เซ็นเตอร์ ฟรี! *
หน้าแรก | เปิดร้านค้าฟรี! | โปรโมชั่นแฟรนไชส์ | ร้านหนังสือออนไลน์ | สนใจลงโฆษณา

ทางเว็บไซต์ ThaiFranchiseCenter.com ไม่มีส่วนรับผิดชอบกับข้อความต่างๆในเว็บบอร์ดแต่อย่างใด
    ไม่ว่าจะเป็นการซื้อ-ขาย-เช่า-เซ้ง หรือ อื่นๆ (ผู้ซื้อ หรือ ผู้ขาย กรุณาใช้วิจารณญาณในการติดต่อทางธุรกิจ)


แสดงกระทู้

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.


Topics - อภิชาพนารินทร์

หน้า: [1]
1
การวางแผนภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างและ
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างกับการทำบัญชี
และผลกระทบที่เกี่ยวข้องต่อการเขียนรายงานของผู้สอบบัญชี


โรงแรม เอเชีย กรุงเทพมหานคร
296 ถนน พญาไท แขวง ถนนเพชรบุรี
เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
สถานี รถไฟฟ้า BTS ราชเทวี
หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับ
 
ผู้บริหาร นักลงทุนอสังหาริมทรัพย์ เจ้าของที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ผู้สนใจทั่วไป
นักบัญชี ผู้สอบบัญชีที่เกี่ยวข้องกับที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง

อัตราค่าอบรม เรียน 2 วัน วันที่ 8-9 กันยายน 2563สมาชิก ราคา 5,500 บาท
บุคคลทั่วไป ราคา 7,000 บาท
***ส่วนลดพิเศษ***
จองและชำระภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2563
สมาชิกลด 500 บาท/ท่าน(คงเหลือท่านละ 5,000 บาท
บุคคลทั่วไปลด 1,000 บาท/ท่าน (คงเหลือท่านละ 6,000 บาท)
จ่ายเงินในนาม บริษัท สามารถหักภาษี ณ ที่จ่าย 1.5%

                                                           
หัวข้อสัมมนา
วันที่ 8 กันยายน 2563 การวางแผนภาษีที่ดิน และสิ่งปลูกสร้าง
1. ภาพรวมและลักษณะเฉพาะของภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
2. ฐานภาษีและการแบ่งประเภทที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
1) ความหมายและฐานภาษี
2) ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเกษตรกรรมและการยกเว้นฐานภาษี
3) ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่อยู่อาศัย และการยกเว้นฐานภาษีที่อยู่อาศัยบ้านหลังหลัก ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอื่นๆ
4) ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์อื่น
5) ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างทิ้งว่าง/ไม่ได้ทำประโยชน์ตามควรแก่สภาพ
3. อัตราภาษี
1) อัตราภาษีสูงสุดที่จัดเก็บได้   
2) อัตราภาษี ปี 2563-2564   
3) อัตราภาษีปี 2565 เป็นต้นไป 
4) อัตราภาษีที่เก็บเพิ่มสำหรับที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ทิ้งว่างหรือไม่ได้ทำ     ประโยชน์ตามควรแก่สภาพ
4. ผู้เสียภาษี
1) เจ้าของ   
2) ผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ
3) ผู้มีหน้าที่ชำระภาษีแทน
5. การลดและการยกเว้นภาษีปี
1) การลดภาษีสูงสุดไม่เกินร้อยละ 90 ตามพระราชกฤษฎี
2) การลดภาษี 90% ปี 2563
3) การลดหรือยกเว้นภาษี โดย อปท.
4) การขอลดหรือยกเว้นภาษีโดยผู้เสียภาษี                                                     
6. การคำนวณภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
1) หลักการทั่วไปคำนวณภาษีที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง ห้องชุด
2) ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเกษตรกรรมของบุคคลธรรมดา/ของนิติบุคคล
3) บ้าน บ้านและที่ดิน/ห้องชุดหลังหลัก ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างเพื่อที่อยู่อาศัยอื่นๆ
4) ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์อื่นๆ
5) ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ทิ้งว่าง/ไม่ทำประโยชน์ตามควรแก่สภาพ Update กฎกระทรวง
6) การใช้ประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างหลายประเภท
7) ที่ดินหลายแปลงอาณาเขตไม่ติดกัน/อาณาเขตติดกัน
8) การบรรเทาภาระภาษีปี 2563-2565 (ไม่เสียภาษีโรงเรือน ได้บรรเทาหรือไม่)
7. การชำระภาษี
1) การชำระและการผ่อนภาษี         
2) เบี้ยปรับ/เงินเพิ่ม       
3) การบังคับหนี้ภาษีค้างชำระ
4) การทบทวนการประเมินภาษีผิดพลาด การเรียกเก็บภาษีเพิ่ม การคืนภาษีที่เก็บเกิน
8. การรักษาสิทธิและหน้าที่ของผู้เสียภาษี
1) การขอแก้ไขเมื่อข้อมูลบัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง,ห้องชุด (ภ.ด.ส.3,ภ.ด.ส 4) ไม่ถูกต้อง/ไม่ตรงตามความจริง
2) การคัดค้านการประเมินภาษี และการฟ้องศาล
3) การยื่นคำร้องให้คืนเงินภาษีหรือดอกเบี้ย
4) การแจ้งเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง       
9. โทษ
1) แจ้งข้อความเท็จ/นำพยานหลักฐานเท็จไปแสดงเพื่อหลีกเลี่ยงการเสียภาษี
2) ผู้แทนหรือตัวแทนนิติบุคคลต้องรับโทษในความผิดของนิติบุคคลที่เกิดจากการกระทำหรืองดเว้นการกระทำของตนด้วย
10. การวางแผนประหยัดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ทำได้
11. ผลกระทบของภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างต่อสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์/เดิม/ใหม่ ควรแก้ไขอย่างไร
12. ความเสี่ยงของภาษีโรงเรือนและที่ดิน
1) ความเสี่ยงจากการถูกประเมินย้อนหลัง
2) ความเสี่ยงกรณีซื้อโรงเรือนหรือที่ดินที่ยังไม่ได้เสียภาษี
3) ไม่เสียภาษีโรงเรือน จะได้บรรเทาภาษีที่ดินหรือไม่

วันที่ 9 กันยายน 2563
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างกับการทำบัญชี และผลกระทบที่เกี่ยวข้องต่อการเขียนรายงานของผู้สอบบัญชี
(สำหรับนักบัญชี ต้องเรียนทั้ง 2 วัน)
1. ภาระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง กับหลักการทั่วไปในการรับรู้รายการบัญชี
2. ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างกับการรับรู้รายการต้นทุนสินทรัพย์ของนิติบุคคล
3. การรับรู้รายการค่าใช้จ่ายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
4. การรับรู้รายการภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่เป็นรายจ่ายต้องห้ามในการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล
5. การรับรู้รายการค่าภาษีที่ผู้เช่าออกให้ และภาษีที่ได้รับคืน
6. กรณีไม่ชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง มีผลกระทบต่อประมาณการหนี้สินของกิจการหรือไม่และกระทบต่อรายงานทางการเงินอย่างไรบ้าง
 
7. กรณีไม่เห็นด้วยกับการประเมิน นิติบุคคลมีสิทธิอย่างไรบ้าง มีผลกระทบต่อการบันทึกบัญชีและกระทบต่อการรายงานทางการเงินอย่างไร
 
8. การเขียนหมายเหตุประกอบงบการเงินจากผลกระทบของรายการภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
9. การเขียนรายงานของผู้สอบบัญชี จากผลกระทบของรายการที่เกี่ยวกับภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง


การชำระเงิน ***(กรุณาโอนเงินภายในวันที่ 30 สิงหาคม 2563)
โอนเงินเข้าบัญชี  บริษัท นักบัญชีดอทคอม จำกัด  Nukbunchee dot com Co.,Ltd.
87/487 ถนนกาญจนาภิเษก แขวงบางบอนเหนือ เขตบางบอน กรุงเทพ 10150
เลขผู้เสียภาษี 010 555 613 1928
  ธนาคารกสิกรไทย     เลขที่ 728-2-35885-3 (สาขาวงแหวนรอบนอก เอกชัยบางบอน)
             ธนาคารไทยพาณิชย์  เลขที่ 156-3-00425-6   (สาขาเซ็นทรัล พระราม 2)
              ธนาคารกรุงเทพ      เลขที่  033-3-00450-5  (สาขาเซ็นทรัล พระราม 2)
              พร้อมเพย์                     010 555 613 1928
 
*****
โทรศัพท์ 02-415-1567
e-mail seminar@nukbunchee.com

2
การวางแผนภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
โรงแรม เอเชีย กรุงเทพมหานคร
296 ถนน พญาไท แขวง ถนนเพชรบุรีเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
สถานี รถไฟฟ้า BTS ราชเทวี

CPD/CPA รออนุมัติ
อัตราค่าอบรม
สมาชิก ราคา 3,200 บาท
บุคคลทั่วไป ราคา 4,000 บาท
ราคายังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม
จ่ายเงินในนาม บริษัทหัก ณ ที่จ่าย 1.5%
**จองและจ่ายเงินภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2563**
สมาชิกลด 200 บาท/ท่าน
บุคคลทั่วไปลด 500 บาท/ท่าน

วัตถุประสงค์
     เพื่อเข้าใจหลักการของภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง การวางแผนภาษีที่ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างส่วนที่เกี่ยวข้องกับรายจ่ายในการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล และเข้าใจการรับรู้รายการภาษีที่ดินฯ ที่เป็นค่าใช้จ่าย ต้นทุน เจ้าหนี้ค่าภาษี รวมถึงผลกระทบที่มีต่อหมายเหตุประกอบงบการเงิน และรายงานการสอบบัญชีที่เกี่ยวกับภาษีที่ดินฯ
หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับ
ผู้บริหาร นักลงทุนอสังหาริมทรัพย์ เจ้าของที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ผู้สนใจทั่วไป                     
หัวข้อสัมมนา         
วันที่ 8 กันยายน 2563 การวางแผนภาษีที่ดิน และสิ่งปลูกสร้าง
1. ภาพรวมและลักษณะเฉพาะของภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
2. ฐานภาษีและการแบ่งประเภทที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
1) ความหมายและฐานภาษี
2) ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเกษตรกรรมและการยกเว้นฐานภาษี
3) ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่อยู่อาศัย และการยกเว้นฐานภาษีที่อยู่อาศัยบ้านหลังหลัก ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอื่นๆ
4) ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์อื่น
5) ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างทิ้งว่าง/ไม่ได้ทำประโยชน์ตามควรแก่สภาพ
3. อัตราภาษี
1) อัตราภาษีสูงสุดที่จัดเก็บได้   
2) อัตราภาษี ปี 2563-2564   
3) อัตราภาษีปี 2565 เป็นต้นไป 
4) อัตราภาษีที่เก็บเพิ่มสำหรับที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ทิ้งว่างหรือไม่ได้ทำประโยชน์ตามควรแก่สภาพ
4. ผู้เสียภาษี
1) เจ้าของ   
2) ผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ
3) ผู้มีหน้าที่ชำระภาษีแทน
5. การลดและการยกเว้นภาษีปี
1) การลดภาษีสูงสุดไม่เกินร้อยละ 90 ตามพระราชกฤษฎี
2) การลดภาษี 90% ปี 2563
3) การลดหรือยกเว้นภาษี โดย อปท.
4) การขอลดหรือยกเว้นภาษีโดยผู้เสียภาษี                                                                         
6. การคำนวณภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
1) หลักการทั่วไปคำนวณภาษีที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง ห้องชุด
2) ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเกษตรกรรมของบุคคลธรรมดา/ของนิติบุคคล
3) บ้าน บ้านและที่ดิน/ห้องชุดหลังหลัก ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างเพื่อที่อยู่อาศัยอื่นๆ
4) ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์อื่นๆ
5) ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ทิ้งว่าง/ไม่ทำประโยชน์ตามควรแก่สภาพ Update กฎกระทรวง
6) การใช้ประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างหลายประเภท
7) ที่ดินหลายแปลงอาณาเขตไม่ติดกัน/อาณาเขตติดกัน
8) การบรรเทาภาระภาษีปี 2563-2565 (ไม่เสียภาษีโรงเรือน ได้บรรเทาหรือไม่)
7. การชำระภาษี
1) การชำระและการผ่อนภาษี         
2) เบี้ยปรับ/เงินเพิ่ม       
3) การบังคับหนี้ภาษีค้างชำระ
4) การทบทวนการประเมินภาษีผิดพลาด การเรียกเก็บภาษีเพิ่ม การคืนภาษีที่เก็บเกิน
8. การรักษาสิทธิและหน้าที่ของผู้เสียภาษี
1) การขอแก้ไขเมื่อข้อมูลบัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง,ห้องชุด (ภ.ด.ส.3,ภ.ด.ส 4) ไม่ถูกต้อง/ไม่ตรงตามความจริง
2) การคัดค้านการประเมินภาษี และการฟ้องศาล
3) การยื่นคำร้องให้คืนเงินภาษีหรือดอกเบี้ย
4) การแจ้งเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง       
9. โทษ
1) แจ้งข้อความเท็จ/นำพยานหลักฐานเท็จไปแสดงเพื่อหลีกเลี่ยงการเสียภาษี
2) ผู้แทนหรือตัวแทนนิติบุคคลต้องรับโทษในความผิดของนิติบุคคลที่เกิดจากการกระทำหรืองดเว้น        การกระทำของตนด้วย
10. การวางแผนประหยัดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ทำได้
11. ผลกระทบของภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างต่อสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์/เดิม/ใหม่ ควรแก้ไขอย่างไร
12. ความเสี่ยงของภาษีโรงเรือนและที่ดิน
1) ความเสี่ยงจากการถูกประเมินย้อนหลัง
2) ความเสี่ยงกรณีซื้อโรงเรือนหรือที่ดินที่ยังไม่ได้เสียภาษี
3) ไม่เสียภาษีโรงเรือน จะได้บรรเทาภาษีที่ดินหรือไม่
         
     การชำระเงิน ***(กรุณาโอนเงินภายในวันที่ 31 สิงหาคม 2563)
โอนเงินเข้าบัญชี  บริษัท นักบัญชีดอทคอม จำกัด  Nukbunchee dot com Co.,Ltd.
87/487 ถนนกาญจนาภิเษก แขวงบางบอน เขตบางบอน กรุงเทพ 10150
เลขผู้เสียภาษี 010 555 613 1928
              ธนาคารกสิกรไทย     เลขที่ 728-2-35885-3 (สาขาวงแหวนรอบนอก เอกชัยบางบอน)
               ธนาคารไทยพาณิชย์  เลขที่ 156-3-00425-6   (สาขาเซ็นทรัล พระราม 2)
               ธนาคารกรุงเทพ      เลขที่  033-3-00450-5  (สาขาเซ็นทรัล พระราม 2)
               พร้อมเพย์               010 555 613 1928
โทรศัพท์ 02-415-1567 

3
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างกับการทำบัญชี รุ่น 7
▪️ 25-26 กุมภาพันธ์ 2563
จอง https://bit.ly/2N1zCVE
โบว์ชัวร์ https://bit.ly/2N5NKxw

สัมมนา "ภาษีที่ดิน" นักบัญชีดอทคอม
การใช้ประโยชน์ในที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเพื่อประหยัดภาษี
▪️ 25 กุมภาพันธ์ 2563
จอง https://bit.ly/2N4a36x

#ภาษีที่ดิน #ภาษีสิ่งปลูกสร้าง #ภาษีโรงเรือน #ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง #ภาษีที่อยู่อาศัย #ภาษีคอนโด #ภาษีที่รกร้างว่างเปล่า
วันที่ 25-26 กุมภาพันธ์ 2563 หลักสูตรภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างกับการทำบัญชี
โรงแรมแกรนด์สุขุมวิท ซอยสุขุมวิท 6 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร BTS สถานีนานา ออกทางประตู 4
วิทยากร อ.วิไล วัชรชัยสิริกุล อ.ศักดิ์ชาย ศิริรักษ์ อ.วิทยา เอกวิรุฬห์พร
วัตถุประสงค์
▪️ เรียนรู้หลักการของภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
▪️ เรียนรู้ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในส่วนที่เกี่ยวกับรายจ่ายในการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล
▪️ เข้าใจการรับรู้รายการภาษีที่ดินฯ ที่เป็นค่าใช้จ่าย ต้นทุน เจ้าหนี้ค่าภาษี การเขียนหมายเหตุประกอบงบการเงิน และการเขียนรายงานการสอบบัญชีเกี่ยวกับภาษีที่ดินฯ
หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับ
•นักบัญชี ผู้สอบบัญชีที่เกี่ยวข้องกับที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง
•ผู้สนใจทั่วไป
หัวข้อสัมมนา
วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2563 การใช้ประโยชน์ในที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเพื่อประหยัดภาษี
1.ภาพรวมและลักษณะเฉพาะของภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
2.ฐานภาษีและการแบ่งประเภทที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
1)ความหมายและฐานภาษี
2)ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเกษตรกรรมและการยกเว้นฐานภาษี
3)ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่อยู่อาศัย และการยกเว้นฐานภาษีที่อยู่อาศัย บ้านหลังหลัก บ้านและที่ดินหลังหลัก ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอื่นๆ
4)ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์อื่น
5)ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างทิ้งว่าง/ไม่ได้ทำประโยชน์ตามควรแก่สภาพ
3อัตราภาษี
1)อัตราภาษีสูงสุดที่จัดเก็บได้
2)อัตราภาษี 2 ปีแรก (2563-2564)
3)อัตราภาษีที่เก็บเพิ่มทุก 3 ปีสำหรับที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ทิ้งว่างหรือไม่ได้ทำประโยชน์ตามควรแก่สภาพ
4)อัตราภาษีปี 2565 เป็นต้นไป
4ผู้เสียภาษี
1)เจ้าของ
2)ผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ
3)ผู้มีหน้าที่ชำระภาษีแทน
5การลดและการยกเว้นภาษีปี 2563-2564
1)การลดภาษีสูงสุดไม่เกินร้อยละ 90 ตามพระราชกฤษฎี
2)การลดหรือยกเว้นภาษีกรณีเกิดความเสียหายจากเหตุพ้นวิสัยป้องกัน
3)การขอลดหรือยกเว้นภาษีโดยผู้เสียภาษี กรณีได้รับความเสียหาย หรือถูกรื้อถอนทำลาย
6การคำนวณภาษี
1)หลักการคำนวณภาษีที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง ห้องชุด
2)ที่ดินหลายแปลงอาณาเขตไม่ติดกัน/อาณาเขตติดกัน
3)ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเกษตรกรรมของบุคคลธรรมดา/ของนิติบุคคล
4)บ้าน บ้านและที่ดิน/ห้องชุดหลังหลัก ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างเพื่อที่อยู่อาศัยอื่นๆ
5)ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมรดกที่ได้รับโอนมาก่อน 13 มีนาคม 2562
6)ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์อื่นๆ
7)ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ทิ้งว่าง/ไม่ทำประโยชน์ตามควรแก่สภาพตามกฎกระทรวง
8)การใช้ประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างหลายประเภท
9)การบรรเทาภาระภาษีปี 2563-2565 (ไม่เสียภาษีโรงเรือน ไม่ได้บรรเทา)
7การชำระภาษี
1)การชำระภาษีและการผ่อน
2)เบี้ยปรับ
3)การบังคับหนี้ภาษีค้างชำระ
4)การทบทวนการประเมินภาษีผิดพลาดไม่ครบถ้วน การเรียกเก็บภาษีเพิ่ม การคืนภาษีที่เก็บเกิน
8การรักษาสิทธิและหน้าที่ของผู้เสียภาษี
1)การขอแก้ไขเมื่อข้อมูลในบัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ,ห้องชุด(ภ.ด.ส.3 ภ.ด.ส 4) ไม่ถูกต้อง/ตรงตามความจริงใน การใช้ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง
2)การคัดค้านการประเมินภาษี
3)การอุทธรณ์คำวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์โดยฟ้องศาล
4)การยื่นคำร้องให้คืนเงินภาษีหรือดอกเบี้ย
5)การแจ้งเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง
9โทษ
1)แจ้งข้อความเท็จ/นำพยานหลักฐานเท็จไปแสดงเพื่อหลีกเลี่ยงการเสียภาษี
2)ผู้แทนหรือตัวแทนนิติบุคคลต้องรับโทษในความผิดของนิติบุคคลที่เกิดจากการกระทำหรืองดเว้นการกระทำของตนด้วย
10การวางแผนประหยัดภาษีที่ทำได้ในที่ดิน 3 ประเภท
11ผลกระทบของภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างต่อสัญญาเช่าเดิม/ใหม่ ควรแก้ไขอย่างไร
12ความเสี่ยงของภาษีโรงเรือนและที่ดิน
1)ความเสี่ยงจากการถูกประเมินย้อนหลัง
2)ความเสี่ยงกรณีซื้อโรงเรือนหรือที่ดินที่ยังไม่ได้เสียภาษี
(ถาม ตอบ หลังการบรรยายในแต่ละหัวข้อ)
==================
วันที่ 26 กุมภาพัน์ 2563 ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างกับการทำบัญชี
1.ภาระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง กับหลักการทั่วไปในการรับรู้รายการบัญชีจากภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
2.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างกับการรับรู้รายการต้นทุนสินทรัพย์ของนิติบุคคล
3.การรับรู้รายการค่าใช้จ่ายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
4.การรับรู้รายการภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่เป็นรายจ่ายต้องห้ามในการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล
5.การรับรู้รายการค่าภาษีที่ผู้เช่าออกให้ ภาษีที่ได้รับคืน
6.กรณีไม่ชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง มีผลกระทบต่อประมาณการหนี้สินของกิจการหรือไม่ และกระทบต่อรายงานทางการเงินอย่างไรบ้าง
7.กรณีไม่เห็นด้วยกับการประเมินภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง นิติบุคคลมีสิทธิ์อย่างไรบ้าง มีผลกระทบต่อการบันทึกบัญชี และกระทบต่อการรายงานทางการเงินอย่างไร
8.การเขียนหมายเหตุประกอบงบการเงินจากผลกระทบของรายการภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
9.การเขียนรายงานของผู้สอบบัญชี จากผลกระทบของรายการที่เกี่ยวกับภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
(ถาม ตอบ หลังการบรรยายในแต่ละหัวข้อ)
สนใจสอบถาม
02 4151567
Line add:@nukbunchee
Mail: apicha@nukbunchee.com
www.nukbunchee.com

4
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างกับการทำบัญชี รุ่น 7
▪️ 25-26 กุมภาพันธ์ 2563
จอง https://bit.ly/2N1zCVE
โบว์ชัวร์ https://bit.ly/2N5NKxw
#ภาษีที่ดิน #ภาษีสิ่งปลูกสร้าง #ภาษีโรงเรือน #ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง #ภาษีที่อยู่อาศัย #ภาษีคอนโด #ภาษีที่รกร้างว่างเปล่า
วันที่ 25-26 กุมภาพันธ์ 2563 หลักสูตรภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างกับการทำบัญชี
โรงแรมแกรนด์สุขุมวิท ซอยสุขุมวิท 6 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร BTS สถานีนานา ออกทางประตู 4
วิทยากร อ.วิไล วัชรชัยสิริกุล อ.ศักดิ์ชาย ศิริรักษ์ อ.วิทยา เอกวิรุฬห์พร
วัตถุประสงค์
▪️ เรียนรู้หลักการของภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
▪️ เรียนรู้ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในส่วนที่เกี่ยวกับรายจ่ายในการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล
▪️ เข้าใจการรับรู้รายการภาษีที่ดินฯ ที่เป็นค่าใช้จ่าย ต้นทุน เจ้าหนี้ค่าภาษี การเขียนหมายเหตุประกอบงบการเงิน และการเขียนรายงานการสอบบัญชีเกี่ยวกับภาษีที่ดินฯ
หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับ
•นักบัญชี ผู้สอบบัญชีที่เกี่ยวข้องกับที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง
•ผู้สนใจทั่วไป
หัวข้อสัมมนา
วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2563 การใช้ประโยชน์ในที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเพื่อประหยัดภาษี
1.ภาพรวมและลักษณะเฉพาะของภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
2.ฐานภาษีและการแบ่งประเภทที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
1)ความหมายและฐานภาษี
2)ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเกษตรกรรมและการยกเว้นฐานภาษี
3)ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่อยู่อาศัย และการยกเว้นฐานภาษีที่อยู่อาศัย บ้านหลังหลัก บ้านและที่ดินหลังหลัก ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอื่นๆ
4)ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์อื่น
5)ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างทิ้งว่าง/ไม่ได้ทำประโยชน์ตามควรแก่สภาพ
3อัตราภาษี
1)อัตราภาษีสูงสุดที่จัดเก็บได้
2)อัตราภาษี 2 ปีแรก (2563-2564)
3)อัตราภาษีที่เก็บเพิ่มทุก 3 ปีสำหรับที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ทิ้งว่างหรือไม่ได้ทำประโยชน์ตามควรแก่สภาพ
4)อัตราภาษีปี 2565 เป็นต้นไป
4ผู้เสียภาษี
1)เจ้าของ
2)ผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ
3)ผู้มีหน้าที่ชำระภาษีแทน
5การลดและการยกเว้นภาษีปี 2563-2564
1)การลดภาษีสูงสุดไม่เกินร้อยละ 90 ตามพระราชกฤษฎี
2)การลดหรือยกเว้นภาษีกรณีเกิดความเสียหายจากเหตุพ้นวิสัยป้องกัน
3)การขอลดหรือยกเว้นภาษีโดยผู้เสียภาษี กรณีได้รับความเสียหาย หรือถูกรื้อถอนทำลาย
6การคำนวณภาษี
1)หลักการคำนวณภาษีที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง ห้องชุด
2)ที่ดินหลายแปลงอาณาเขตไม่ติดกัน/อาณาเขตติดกัน
3)ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเกษตรกรรมของบุคคลธรรมดา/ของนิติบุคคล
4)บ้าน บ้านและที่ดิน/ห้องชุดหลังหลัก ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างเพื่อที่อยู่อาศัยอื่นๆ
5)ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมรดกที่ได้รับโอนมาก่อน 13 มีนาคม 2562
6)ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์อื่นๆ
7)ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ทิ้งว่าง/ไม่ทำประโยชน์ตามควรแก่สภาพตามกฎกระทรวง
8)การใช้ประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างหลายประเภท
9)การบรรเทาภาระภาษีปี 2563-2565 (ไม่เสียภาษีโรงเรือน ไม่ได้บรรเทา)
7การชำระภาษี
1)การชำระภาษีและการผ่อน
2)เบี้ยปรับ
3)การบังคับหนี้ภาษีค้างชำระ
4)การทบทวนการประเมินภาษีผิดพลาดไม่ครบถ้วน การเรียกเก็บภาษีเพิ่ม การคืนภาษีที่เก็บเกิน
8การรักษาสิทธิและหน้าที่ของผู้เสียภาษี
1)การขอแก้ไขเมื่อข้อมูลในบัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ,ห้องชุด(ภ.ด.ส.3 ภ.ด.ส 4) ไม่ถูกต้อง/ตรงตามความจริงใน การใช้ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง
2)การคัดค้านการประเมินภาษี
3)การอุทธรณ์คำวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์โดยฟ้องศาล
4)การยื่นคำร้องให้คืนเงินภาษีหรือดอกเบี้ย
5)การแจ้งเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง
9โทษ
1)แจ้งข้อความเท็จ/นำพยานหลักฐานเท็จไปแสดงเพื่อหลีกเลี่ยงการเสียภาษี
2)ผู้แทนหรือตัวแทนนิติบุคคลต้องรับโทษในความผิดของนิติบุคคลที่เกิดจากการกระทำหรืองดเว้นการกระทำของตนด้วย
10การวางแผนประหยัดภาษีที่ทำได้ในที่ดิน 3 ประเภท
11ผลกระทบของภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างต่อสัญญาเช่าเดิม/ใหม่ ควรแก้ไขอย่างไร
12ความเสี่ยงของภาษีโรงเรือนและที่ดิน
1)ความเสี่ยงจากการถูกประเมินย้อนหลัง
2)ความเสี่ยงกรณีซื้อโรงเรือนหรือที่ดินที่ยังไม่ได้เสียภาษี
(ถาม ตอบ หลังการบรรยายในแต่ละหัวข้อ)
==================
วันที่ 26 กุมภาพัน์ 2563 ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างกับการทำบัญชี
1.ภาระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง กับหลักการทั่วไปในการรับรู้รายการบัญชีจากภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
2.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างกับการรับรู้รายการต้นทุนสินทรัพย์ของนิติบุคคล
3.การรับรู้รายการค่าใช้จ่ายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
4.การรับรู้รายการภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่เป็นรายจ่ายต้องห้ามในการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล
5.การรับรู้รายการค่าภาษีที่ผู้เช่าออกให้ ภาษีที่ได้รับคืน
6.กรณีไม่ชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง มีผลกระทบต่อประมาณการหนี้สินของกิจการหรือไม่ และกระทบต่อรายงานทางการเงินอย่างไรบ้าง
7.กรณีไม่เห็นด้วยกับการประเมินภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง นิติบุคคลมีสิทธิ์อย่างไรบ้าง มีผลกระทบต่อการบันทึกบัญชี และกระทบต่อการรายงานทางการเงินอย่างไร
8.การเขียนหมายเหตุประกอบงบการเงินจากผลกระทบของรายการภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
9.การเขียนรายงานของผู้สอบบัญชี จากผลกระทบของรายการที่เกี่ยวกับภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
(ถาม ตอบ หลังการบรรยายในแต่ละหัวข้อ)
สนใจสอบถาม
02 4151567
Line add:@nukbunchee
Mail.apicha@nukbunchee.com
www.nukbunchee.com



5
สัมมนา "ภาษีที่ดิน" นักบัญชีดอทคอม
การใช้ประโยชน์ในที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเพื่อประหยัดภาษี
▪️ 25 กุมภาพันธ์ 2563
จอง https://bit.ly/2N4a36x
โรงแรมแกรนด์สุขุมวิท ซอยสุขุมวิท 6 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร BTS สถานีนานา ออกทางประตู 4
วิทยากร อ.วิไล วัชรชัยสิริกุล อ.ศักดิ์ชาย ศิริรักษ์
วัตถุประสงค์
▪️ เรียนรู้หลักการของภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
▪️ เรียนรู้ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างในส่วนที่เกี่ยวกับรายจ่ายในการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล
▪️ เข้าใจการรับรู้รายการภาษีที่ดินฯ ที่เป็นค่าใช้จ่าย ต้นทุน เจ้าหนี้ค่าภาษี การเขียนหมายเหตุประกอบงบการเงิน และการเขียนรายงานการสอบบัญชีเกี่ยวกับภาษีที่ดินฯ
หลักสูตรนี้เหมาะสำหรับ
•นักบัญชี ผู้สอบบัญชีที่เกี่ยวข้องกับที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง
•ผู้สนใจทั่วไป
หัวข้อสัมมนา
วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2563 การใช้ประโยชน์ในที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเพื่อประหยัดภาษี
1.ภาพรวมและลักษณะเฉพาะของภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
2.ฐานภาษีและการแบ่งประเภทที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
1)ความหมายและฐานภาษี
2)ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเกษตรกรรมและการยกเว้นฐานภาษี
3)ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่อยู่อาศัย และการยกเว้นฐานภาษีที่อยู่อาศัย บ้านหลังหลัก บ้านและที่ดินหลังหลัก ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอื่นๆ
4)ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์อื่น
5)ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างทิ้งว่าง/ไม่ได้ทำประโยชน์ตามควรแก่สภาพ
3อัตราภาษี
1)อัตราภาษีสูงสุดที่จัดเก็บได้
2)อัตราภาษี 2 ปีแรก (2563-2564)
3)อัตราภาษีที่เก็บเพิ่มทุก 3 ปีสำหรับที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ทิ้งว่างหรือไม่ได้ทำประโยชน์ตามควรแก่สภาพ
4)อัตราภาษีปี 2565 เป็นต้นไป
4ผู้เสียภาษี
1)เจ้าของ
2)ผู้ครอบครองหรือทำประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างอันเป็นทรัพย์สินของรัฐ
3)ผู้มีหน้าที่ชำระภาษีแทน
5การลดและการยกเว้นภาษีปี 2563-2564
1)การลดภาษีสูงสุดไม่เกินร้อยละ 90 ตามพระราชกฤษฎี
2)การลดหรือยกเว้นภาษีกรณีเกิดความเสียหายจากเหตุพ้นวิสัยป้องกัน
3)การขอลดหรือยกเว้นภาษีโดยผู้เสียภาษี กรณีได้รับความเสียหาย หรือถูกรื้อถอนทำลาย
6การคำนวณภาษี
1)หลักการคำนวณภาษีที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง ห้องชุด
2)ที่ดินหลายแปลงอาณาเขตไม่ติดกัน/อาณาเขตติดกัน
3)ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างเกษตรกรรมของบุคคลธรรมดา/ของนิติบุคคล
4)บ้าน บ้านและที่ดิน/ห้องชุดหลังหลัก ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างเพื่อที่อยู่อาศัยอื่นๆ
5)ที่ดินและสิ่งปลูกสร้างมรดกที่ได้รับโอนมาก่อน 13 มีนาคม 2562
6)ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์อื่นๆ
7)ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ทิ้งว่าง/ไม่ทำประโยชน์ตามควรแก่สภาพตามกฎกระทรวง
8)การใช้ประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างหลายประเภท
9)การบรรเทาภาระภาษีปี 2563-2565 (ไม่เสียภาษีโรงเรือน ไม่ได้บรรเทา)
7การชำระภาษี
1)การชำระภาษีและการผ่อน
2)เบี้ยปรับ
3)การบังคับหนี้ภาษีค้างชำระ
4)การทบทวนการประเมินภาษีผิดพลาดไม่ครบถ้วน การเรียกเก็บภาษีเพิ่ม การคืนภาษีที่เก็บเกิน
8การรักษาสิทธิและหน้าที่ของผู้เสียภาษี
1)การขอแก้ไขเมื่อข้อมูลในบัญชีรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ,ห้องชุด(ภ.ด.ส.3 ภ.ด.ส 4) ไม่ถูกต้อง/ตรงตามความจริงใน การใช้ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง
2)การคัดค้านการประเมินภาษี
3)การอุทธรณ์คำวินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์โดยฟ้องศาล
4)การยื่นคำร้องให้คืนเงินภาษีหรือดอกเบี้ย
5)การแจ้งเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ในที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง
9โทษ
1)แจ้งข้อความเท็จ/นำพยานหลักฐานเท็จไปแสดงเพื่อหลีกเลี่ยงการเสียภาษี
2)ผู้แทนหรือตัวแทนนิติบุคคลต้องรับโทษในความผิดของนิติบุคคลที่เกิดจากการกระทำหรืองดเว้นการกระทำของตนด้วย
10การวางแผนประหยัดภาษีที่ทำได้ในที่ดิน 3 ประเภท
11ผลกระทบของภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างต่อสัญญาเช่าเดิม/ใหม่ ควรแก้ไขอย่างไร
12ความเสี่ยงของภาษีโรงเรือนและที่ดิน
1)ความเสี่ยงจากการถูกประเมินย้อนหลัง
2)ความเสี่ยงกรณีซื้อโรงเรือนหรือที่ดินที่ยังไม่ได้เสียภาษี
(ถาม ตอบ หลังการบรรยายในแต่ละหัวข้อ)
==================

สนใจสอบถาม
02 4151567
Line add:@nukbunchee
Mail.apicha@nukbunchee.com
www.nukbunchee.com


6
หลักการคำนวณเพื่อวัดมูลค่าตามมาตฐานรายงานทางการเงิน
การวัดมูลค่าตามแนวทางของ TFRS
ดาวน์โหลดโบร์ชัวร์ https://goo.gl/R1Kyuj

ปัจจุบัน TFRS มีแนวทางการวัดมูลค่าที่หลากหลาย อาจทำให้ผู้ทำบัญชี และผู้สอบบัญชีสับสน ในการสัมมนาครั้งนี้จะมุ่งเน้นความเข้าใจในการวัดมูลค่า เพื่อนำไปปรับใช้กับการจัดทำรายงานการเงินให้สอดคล้องกับ TFRS และเป็นประโยชน์กับการใช้ประกอบการตัดสินใจ
หัวข้ออบรมสัมมนา
หลักการคำนวณเพื่อวัดมูลค่าตามมาตฐานรายงานทางการเงิน
แนวทางการวัดมูลค่า

หลักการในการวัดมูลค่ารูปแบบต่างๆ  

ราคาทุน หักค่าเสื่อมราคาสะสม หักค่าเผื่อด้อยค่าสะสม

ราคาทุนปัจจุบัน (ราคาเปลี่ยนแทน)

มูลค่ายุติธรรม

มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสด

มูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับ

TFRSตัวอย่างการปรับใช้ (ภาคปฎิบัติ)

TAS 105, TFRS 9มูลค่ายุติธรรมเข้ากำไรขาดทุน

TAS 105, TFRS 9มูลค่ายุติธรรมเข้ากำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น

TAS 105, TFRS 9การวัดมูลค่าของตราสารหนี้ตามวิธีราคาทุนตัดจำหน่าย

TAS 12การคำนวณภาษีเงินได้รอตัดบัญชี

TAS 16การคำนวณราคาทุนของสินทรัพย์ โดยรวมต้นทุนทางตรงที่ทำให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้

TAS 16การคำนวณค่าเสื่อมราคาตามวิธีต่างๆ

TAS 16การตีราคาสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

TAS 17, TFRS 16การคำนวณภาระผูกพันตามสัญญาเช่า

TAS 19การคำนวณประมาณการหนี้สินผลประโยชน์พนักงานหลังออกจากงาน

TAS 28การคำนวณเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสีย

TAS 36การคำนวณมูลค่าตามบัญชีหลังรับรู้ผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์

TAS 40การวัดมูลค่าของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนตามวิธีราคาทุนเทียบกับวิธีมูลค่ายุติธรรม

TFRS 15การปันส่วนต้นทุน

TFRS 15การปันส่วนต้นทุนตามสัดส่วน

TFRS 15การปันส่วนต้นทุนตามวิธีมูลค่าคงเหลือ

TFRS 3การคำนวณค่าความนิยมกรณีซื้อกิจการ

ติดต่อสอบถามได้ที่
024151567 ต่อ 15
นายอภิชา  พนารินทร์
@nukbunchee

7
บริษัทนักบัญชีดอทคอมจำกัด จัดอบรม เจาะลึกประเด็นสำคัญ กฎหมายแรงงานใหม่ ภาคปฏิบัติ
สนใจดูข้อมูลเพิ่ม https://goo.gl/utT8Vo
1. การแก้ไข พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2560 มีผลใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2560 เป็นต้นไป
1) แก้ไขเกี่ยวกับข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน

2) แก้ไขเรื่องเกษียณอายุ กฎหมายให้เกษียณอายุเท่าไหร่

3) เกษียณอายุเป็นการเลิกจ้าง

4) ครบเกษียณอายุแล้ว แต่ลูกจ้างยังคงทำงานต่อไป ผลตามกฎหมายและปัญหาเป็นอย่างไร และแนวทางแก้ไขปัญหา

2. ร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน ฉบับที่ ... พ.ศ. ... (ค.ร.ม. มีมติเห็นชอบในหลักการ)

1) อัตราดอกเบี้ยกรณีนายจ้างผิดนัดไม่จ่ายค่าจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงล่วงหน้าและเงินระหว่างหยุดกิจการชั่วคราว

2) กรณีเปลี่ยนตัวนายจ้างต้องได้รับความยินยอมจากลูกจ้างและให้นายจ้างใหม่รับไปทั้งสิทธิและหน้าที่ปัจจุบัน

3) กำหนดให้การย้ายสถานประกอบกิจการให้รวมถึงการย้ายไปที่ซึ่งนายจ้างมีสถานประกอบกิจการอยู่แล้วด้วย และให้นายจ้างแจ้งกำหนดการย้ายสถานประกอบกิจการให้ลูกจ้างทราบตามแบบที่อธิบดีกำหนด

4) เพิ่มอัตราค่าชดเชยลูกจ้างที่ทำงานตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป

5) ลูกจ้างลากิจโดยได้รับค่าจ้างกี่วัน (update กฎหมายถึงวันสัมมนา)

3. วันเวลาทำงานปกติและเวลาพัก วันหยุดและวันลาตามกฎหมายแรงงาน กฎหมายกำหนดให้ลากิจได้กี่วัน

1) บริษัทจะเลื่อนวันหยุดตามประเพณีวันที่ 1 พฤษภาคม ได้หรือไม่

2) ลูกจ้างอายุงาน 1 ปี 6 เดือนได้พักผ่อนกี่วัน

4. ค่าจ้าง ตามกฎหมายแรงงานมีองค์ประกอบอย่างไร ต่างจากเงินช่วยเหลือค่าใช้จ่าย หรือ เงินสวัสดิการอย่างไร ตามแนวคำพิพากษาปัจจุบัน • ค่าคอมมิสชั่น เป็นค่าจ้าง เป็นฐานเงินสมทบประกันสังคมหรือไม่

5. ลูกจ้างทำอย่างไรที่เรียกว่าการกระทำผิดอย่างร้ายแรง และไม่ร้ายแรง

1) แชทระหว่างเวลาทำงาน

2) ขายของออนไลน์ระหว่างเวลางาน

6. หนังสือเตือนส่งทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ได้หรือไม่ ผลทางกฎหมายเป็นอย่างไร

7. สินจ้างแทนการบอกกกล่าวล่วงหน้า ค่าชดเชย ค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม เมื่อนายจ้างเลิกจ้างต้องจ่ายเงินเหล่านี้หรือไม่

8. เหตุแห่งการพิจารณากรณีลูกจ้างทำผิดแล้วนายจ้างไม่ต้องรับผิดในเงินสินจ้างแทนการบอกกกล่าวล่วงหน้า ค่าชดเชย ค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม ต้องพิจารณาเหตุนั้นอย่างไร

9. Update คำพิพากษาศาลฏีกาที่วางแนวปฏิบัติสำหรับการบริหารทรัพยากรบุคคลในภาวะปัจจุบัน

10. ทำอย่างไรเมื่อถูกพนักงานตรวจแรงงานเรียกตรวจเมื่อลูกจ้างร้องเรียน

11. กรณีพนักงานตรวจแรงออกคำสั่งโดยไม่ชอบ ประเด็นในการตรวจสอบต้องพิจารณาอย่างไรพร้อมตัวอย่างประกอบ และขั้นตอนการเพิกถอนคำสั่งทำอย่างไร

12. Update หน้าที่ของนายจ้างในการหักเงินกู้ยืมลูกจ้างตามพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2560

13. การจ้างผู้สูงอายุ

14. การจ้างคนพิการ

15. นายจ้างมีสวัสดิการลูกจ้างทำอะไรได้บ้าง

16. นายจ้างจะหักค่าเล่าเรียนต่อไปนี้ได้หรือไม่

1) วันลูกจ้างไม่มาทำงาน

2) ลูกจ้างมา สาย

17 นายจ้างจ่ายเงินโบนัสประจำปีกว่าปีก่อนหรือไม่ (ถาม - ตอบภายหลังการบรรยาย
ติดต่อสอบถามได้ที่
024151567 ต่อ 15
นายอภิชา  พนารินทร์
@nukbunchee

8
สนใจจองอบรม ทางเลือกในการบริหารจัดการภาษีการซื้อ ขาย ให้ ให้เช่าที่ดิน
ดูข้อมูเพิ่มเติม https://goo.gl/JjHVGf
1. ร่างกฎหมายใหม่ที่มีผลต่อภาษีเกี่ยวกับที่ดิน
1.1. ร่างพ.ร.บ.แก้ไขประมวลรัษฎากรฯ แก้ไขฐานภาษีเงินได้จากการโอนกรรมสิทธิ์และสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์จากราคาประเมินเป็นราคาซื้อขายจริงหรือราคาประเมินที่สูงกว่า
1.2. ร่างพ.ร.บ.แก้ไขประมวลรัษฎากรฯ ให้สถาบันการเงินส่งรายงานข้อมูลธุรกรรมลักษณะพิเศษแก่สรรพากร
1.3. ร่างพ.ร.บ.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างฯ
1.4. ร่าง พ.ร.บ.การประเมินมูลค่าทรัพย์สินเพื่อประโยชน์แห่งรัฐฯ (รอบการประเมินราคาที่ดินจากรอบละ 4 ปี เป็น 2 ปี เป้าหมายประเมินทุก 3 เดือน)
1.5. ร่างพ.ร.บ.ภาษีการได้รับประโยชน์จากการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของรัฐฯ(ภาษีลาภลอย)
1.6. ข้อควรทราบกฎหมายภาษีสรรพากรใหม่ เลี่ยง/ฉ้อโกงภาษีที่เข้าความผิดมูลฐานฟอกเงิน
2. ภาษีอากรค่าธรรมเนียมที่เกี่ยวข้องกับการขายที่ดิน
2.1. บุคคลธรรมดาขายที่ดิน
2.2. ห้างหุ้นส่วนขายที่ดิน
2.3. นิติบุคคลขายที่ดิน
2.4. การเสียภาษีของคณะบุคคลและห้างหุ้นส่วนสามัญ
3. ปัจจัยที่มีผลต่อการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่ายกรมที่ดิน ราคาขาย : ราคาประเมิน : ต้นทุนซื้อ : ระยะเวลาการถือครอง : จำนวนเจ้าของกรรมสิทธิ์
4. เจาะลึกภาษีอากร ค่าธรรมเนียมการขายที่ดินที่ได้มาจากการซื้อ
4.1 เจ้าของกรรมสิทธิ์คนเดียว
4.2 เจ้าของมากกว่าหนึ่งคน กรณีแนวปฏิบัติของสรรพากรถือว่าบุคคลธรรมดาหลายคนขาย
4.3 เจ้าของมากกว่าหนึ่งคน กรณีแนวปฏิบัติของสรรพากรถือว่าขายในนามห้างหุ้นส่วนสามัญ ต้องเสียภาษีสองครั้งในนามห้างฯ และบุคคลธรรมดา
5. เจาะลึกภาษีการรับ/โอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์
5.1 พ่อโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ให้ลูก
5.2 แม่โอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ให้ลูก
5.3 ปู่ย่าตายาย ลุงป้าน้าอาโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ให้หลาน
5.4 คู่สมรสโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ให้อีกฝ่าย
6. ภาษีการให้เงินหรือทรัพย์สินอื่นๆ
7. ได้ที่ดินจากการให้หรือมรดกระหว่างสมรส
7.1 เป็นสินสมรสหรือสินส่วนตัว
7.2 การใส่ชื่อ/โอนอสังหาริมทรัพย์ให้คู่สมรสต้องเสียภาษีหรือไม่ อย่างไร
7.3 ใส่ชื่อคู่สมรสในที่ดินสินสมรส แล้วขาย ยื่นแบบ/ ยื่นแบบเสียภาษีอย่างไร ประหยัดสุด
8. ภาษีอากรการแบ่งที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์ภายหลังการหย่า
9. ทางเลือกในการบริหารจัดการภาษีการขายที่ดินที่ได้มาจากการซื้อ
9.1 การทำนิติกรรมสัญญาตอนซื้อ
9.2 การแยกฐานภาษีภายหลังการซื้อ และค่าใช้จ่าย
9.3 ต้นทุนเพิ่มในการซื้อที่ดินตามราคาจริง
10. ภาษีการขายที่ดินที่ได้จากการให้
11. ขายที่ดินที่ได้รับมรดก
11.1 ขายในนามกองมรดก
11.2 ขายในนามทายาท ต้องเสียภาษีเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
11.3 การนับระยะเวลาถือครองที่ดินมรดกกับผลทางภาษี
12. ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายกรมที่ดิน กับ
12.1 เจาะลึก ! สิทธิในการเลือกภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายจากการขายอสังหาริมทรัพย์เป็นภาษีสุดท้าย
12.2 ควรเลือกภาษีหัก ณ ที่จ่ายเป็นภาษีสุดท้าย หรือยื่นแบบภาษีประจำปี กรณีใดได้คืนภาษี (แถม excel วิเคราะห์)
13. การบริหารจัดการภาษีอากรซื้อที่ดิน ต้นทุนเพิ่มในการซื้อที่ดินตามราคาจริง ภาษีอากรการให้เช่าที่ดินระยะยาว เงินกินเปล่าสูง
14. เจ้าของคนเดียวให้เช่า
15. กรรมสิทธิ์รวมในที่ดิน เจ้าของมากกว่าหนึ่งคนให้เช่า
15.1 กรณีที่ผู้ให้เช่ามีสถานะเป็นคณะบุคคลหรือห้างหุ้นส่วนสามัญ
15.2 กรณีเป็นต่างคนต่างให้เช่า ต้องดำเนินการอย่างไร
16. วิเคราะห์เปรียบเทียบภาษี การให้เช่าที่ดินระยะยาว เงินกินเปล่าสูง ในนามบุคคลกับนิติบุคคล
17. ต้นทุนในการโอนที่ดินเข้าบริษัท
18. ภาระภาษีตามสัญญาเช่าแบบ Build Transfer Operate (BTO) Build Operate Transfer (BOT)
19. สิทธิเก็บกิน ประเด็นน่าสนใจ/กรณีศึกษา • โอนที่ดินให้วันละ 1 ส่วน 30 วันต่อเนื่อง เพื่อลดภาษี ผลเป็นอย่างไร • ผู้ซื้อออกค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ เป็นเงินได้ของผู้ขายหรือไม่ หนังสือตอบข้อหารือ VS คำพิพากษาศาลฎีกา • จดทะเบียนการเช่าแล้วจดสิทธิการเช่าภายหลัง เงินได้เป็นของผู้ให้เช่า หรือผู้รับสิทธิ
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
นายอภิชา  พนารินทร์
024151567
Apicha@nukbunchee.com
@nukbunchee


หน้า: [1]